Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2829
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนิพรรณ จาติเสถียรth_TH
dc.contributor.authorนิตยา เทพนามวงศ์, 2518-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-26T06:28:33Z-
dc.date.available2023-01-26T06:28:33Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2829en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ(1) ศึกษาพฤติกรรมการแก้ปัญหาของเด็กปฐมวัยในกิจกรรมเสรี และ(2) เปรียบเทียบพฤติกรรมการแก้ปัญหาในกิจกรรมเสรีของเด็กชายและเด็กหญิง กลุ่มตัวอย่างคือเด็กปฐมวัย ชายและหญิง อายุระหว่าง 3-4 ปี ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดม่อนจำศีล เทศบาลเมืองเขลางค์นคร จังหวัดลำปางที่กำลังศึกษาใน ปีการศึกษา 2560 ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม จำนวน 1 ห้องเรียน เครื่องมือที่ใช้คือ (1) แบบสังเกตพฤติกรรมการแก้ปัญหาของเด็กปฐมวัย (2) แบบบันทึกพฤติกรรมการแก้ปัญหาของเด็กปฐมวัย้วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ค่าร้อยละและการวิเคราะห์เชิงเนื้อหาผลการศึกษาปรากฏว่า(1) พฤติกรรมการแก้ปัญหาที่พบมากที่สุดในมุมเครื่องเล่นสัมผัส เปนอันดับที่ 1 รองลงมาคือมุมบทบาทสมมุติ มุมนิทาน มุมวิทยาศาสตร์ มุมบล็อก และมุมเกมการศึกษา ตามลำดับ โดยพฤติกรรมการแก้ปัญหาที่พบมากที่สุดในมุมเครื่องเล่น คือเมื่ออุปกรณ์การเล่นไม่พอปรับเปลี่ยนอุปกรณ์การเล่น พฤติกรรมการแก้ปัญหาที่พบมากที่สุดในมุมบทบาทสมมุติ คือเมื่ออุปกรณ์ที่ต้องการเล่นไม่พอปรับเปลี่ยนวิธีการเล่น พฤติกรรมการแก้ปัญหาที่พบมากที่สุดในมุมนิทานคือเมื่อต้องการอ่านเล่มเดียวกันกับที่เพื่อนอ่านอยู่ เข้าไปนั่งอ่านร่วมกับเพื่อน พฤติกรรมการแก้ปัญหาที่พบมากที่สุดในมุมวิทยาศาสตร์ คือเมื่ออุปกรณ์ที่ต้องการเล่นไม่พอปรับเปลี่ยนวิธีการเล่น พฤติกรรมการแก้ปัญหาที่พบมากที่สุดในมุมบล็อก้ คือเมื่ออุปกรณ์การเล่นไม่พอหยิบของเล่นจากเพื่อนมาเป็นของตนเอง และพฤติกรรมการแก้ปัญหาที่พบมากที่สุดในมุมเกมการศึกษา คือเมื่อไม่รู้วิธีการเล่น หรือทำไม่ได้ ใช้การสังเกตการเล่นของเพื่อน และ(2) ส่วนใหญ่เด็กชายและเด็กหญิงมีพฤติกรรมการแก้ปัญหาในมุมเครื่องเล่นสัมผัส มุมวิทยาศาสตร์มุมบล็อก มุมเกมการศึกษา คล้ายคลึงกัน แต่ทั้งนี้พบว่า เด็กหญิงมีแนวโน้มใช้กำลังในการแก้ปัญหามากกว่าเด็กชายในมุมนิทาน และมุมบทบาทสมมุติth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการแก้ปัญหาในเด็กth_TH
dc.titleการศึกษาพฤติกรรมการแก้ปัญหาของเด็กปฐมวัยในกิจกรรมเสรีของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดม่อนจำศีล เทศบาลเมืองเขลางค์นคร จังหวัดลำปางth_TH
dc.title.alternativeStudy of problem solving behaviors of preschool children at Wat Monjamseen early Childhood Development Center in Khelang Nakhon Municipality, Lampang Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study the problem solving behaviors of preschool children during free play activities; and (2) to compare the problem solving behaviors of boys and girls during the free play activities. The sample consisted of preschool children, aged 3 - 4 years, in one classroom of Wat Monjumseen Childhood Development Center, Khelang Nakhon Town Municipality, Lampang province, during the 2017 academic year, obtained by cluster sampling. The research instruments were (1) an observation form of preschool children’s problem solving behaviors, and (2) a recording form of preschool children’s problem solving behaviors. Data were analyzed using the frequency distribution, percentage, and content analysis. The results of this research were (1) the problem solving behaviors was found most often in the manipulative toys corner, followed by those in the dramatic play corner, story corner, science corner, block corner, and educational game corner respectively; the most common problem solving behavior found in each corner were the following: in the manipulative toys corner, when the numbers of toys were insufficient, they changed their toys; in the dramatic play corner, when the toys were not enough, they changed the playing approach; in the story corner, when they wanted to read the same book that their friend was reading, they joined their friend in reading that book; in the science corner, when the numbers of toys were insufficient, they changed the playing approach; in the block corner, when the numbers of toys were insufficient, they picked up the toy from their friend and used it as their own toy; and in the educational game corner, when they did not know how to play or could not play, they observed how their friends played; and (2) boys and girls exhibited similar problem solving behaviors in manipulative toys corner, science corner, block corner, and educational game corner; however, girls tended to use force or more aggressive approach in problem solving than boys did in story corner and dramatic play corner.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_159406.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.56 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons