กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2830
ชื่อเรื่อง: | ผลการใช้เทคนิคระดมสมองและผังมโนทัศน์ที่มีต่อความสามารถในการเขียนเรียงความวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสตูลวิทยา จังหวัดสตูล |
ชื่อเรื่องอื่นๆ: | Effects of brainstorming technique and concept mapping on Thai language essay writing ability of Mathayom Suksa I students at Satun Witthaya School in Satun Province |
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: | อภิรักษ์ อนะมาน นาราภัทร ชัยศิริ, 2533- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ |
คำสำคัญ: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณี การระดมสมอง แผนผังมโนทัศน์ การแต่งร้อยแก้ว--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) การศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอน |
วันที่เผยแพร่: | 2560 |
สำนักพิมพ์: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
บทคัดย่อ: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการเขียนเรียงความของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสตูลวิทยา จังหวัดสตูล ที่เรียนด้วยเทคนิคระดมสมองและผังมโนทัศน์ ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนสตูลวิทยา อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จำนวน 1 ห้องเรียน มีนักเรียนทั้งหมด 35 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแผนการจัดการเรียนรู้การเขียนเรียงความวิชาภาษาไทยโดยใช้เทคนิคระดมสมองและผังมโนทัศน์ แบบทดสอบวัดความสามารถในการเขียนเรียงความสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการวิจัยปรากฏว่า ความสามารถในการเขียนเรียงความโดยใช้เทคนิคระดมสมองและผังมโนทัศน์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสตูลวิทยา จังหวัดสตูล เรียนเทคนิคระดมสมองและผังมโนทัศน์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่.05 |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2830 |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Edu-Independent study |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
fulltext_159947.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 21.53 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License