Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2833
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณา บัวเกิดth_TH
dc.contributor.authorประพจน์ ผกานนท์, 2516-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-26T07:02:41Z-
dc.date.available2023-01-26T07:02:41Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2833en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างหนังสื่ออานเพิ่มเติม นิทานพื้นบ้านของ 3 ชนเผ่า สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 อำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์และ2) ตรวจสอบคุณภาพของหนังสื่ออานเพิ่มเติม นิทานพื้นบ้านของ 3 ชนเผ่า สำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่6 อำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินิทร กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน ที่มีความรู้ด้านการเขียนหนังสื่ออานเพิ่มเติม ด้านนิทานพื้นบ้านของจังหวัดสุรินิทร ด้านการจัดการเรียนการสอนภาษาไทย และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ (1) หนังสื่ออานเพิ่มเติม นิทานพื้นบ้านของ 3 ชนเผ่า สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 อำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินิทร (2)แบบประเมินคุณภาพหนังสือโดยผู้เชี่ยวชาญ และ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน เกี่ยวกับหนังสื่ออานเพิ่มเติม นิทานพื้นบ้านของ 3 ชนเผ่า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าดัชนีความสอดคล้อง ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการศึกษาปรากฏว่า (1) หนัง่สื่ออานเพิ่มเติม นิทานพื้นบ้านของ 3 ชนเผ่า สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 อำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินิทร ประกอบด้วยเนื้อเรื่อง จำนวน 4 บท คือความรู้เรื่องเกี่ยวกับ 3 ชนเผาในจังหวัดสุรินิทร่ นิทานพื้นบ้านของชนเผาเขมร นิทานพื้นบ้านของชนเผ่ากูย และนิทานพื้นบ้านชนของเผาลาว มีภาพประกอบนิทาน คำอธิบายศัพท์และกิจกรรมท้ายเรื่อง ทุกเรื่อง และ(2) ผลการตรวจสอบคุณภาพหนังสือโดยผู้เชี่ยวชาญ พบว่า คุณภาพหนังสือด้านภาษาและตัวอักษร ด้านการจัดภาพประกอบ และด้านคุณค่าและประโยชน์ที่ได้รับ มีค่าดัชนีความสอดคล้องเท่ากับ 1.00 ด้านรูปเล่ม ด้านเนื้อหา มีค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง 0.67-1.00 และโดยภาพรวมนักเรียนมีความคิดเห็นเกี่ยวกับ หนังสื่ออานเพิ่มเติมเรื่องนิทานพื้นบ้านของ 3 ชนเผ่า ว่า มีความเหมาะสมในระดับมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectภาษาไทย--หนังสืออ่านประกอบth_TH
dc.subjectนิทานพื้นเมือง--ไทย--สุรินทร์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleการสร้างหนังสืออ่านเพิ่มเติมนิทานพื้นบ้านของ 3 ชนเผ่า สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 อำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์th_TH
dc.title.alternativeConstruction of a supplementary reading entitled Folk Tales of Three Tribes for Prathom Suksa VI students in Thatum District, Surin Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to construct a supplementary reading entitled Folk Tales of Three Tribes for Prathom Suksa VI students in Tha Tum district, Surin province; and (2) to verify quality of the constructed supplementary reading entitled Folk Tales of Three Tribes for Prathom Suksa VI students in Tha Tum district, Surin province. The sample consisted of 3 experts on Thai language instruction and on writing supplementary reading on folk tales of Surin province, and 10 Prathom Suksa VI students. The instruments of this study were (1) a supplementary reading entitled Folk Tales of Three Tribes for Prathom Suksa VI students in Tha Tum district, Surin province; 2) a supplementary reading quality assessment form for the experts; and (3) a questionnaire on student’s opinions toward the supplementary reading entitled Folk Tales of Three Tribes. Statistics for data analysis were the index of congruence (IOC), mean, and standard deviation. The results showed that (1) the constructed supplementary reading entitled Folk Tales of Three Tribes for Prathom Suksa VI students in Tha Tum district, Surin province had contents consisting of 4 chapters, namely, Folk Tales of Khmer Tribe, Folk Tales of Kuyi Tribe, and Folk Tales of Laos Tribe; each chapter was completed with illustrations, glossary, and end-of-chapter activities; and (2) results of quality verification of the supplementary reading by the experts showed that quality of the supplementary reading in terms of language and letters usage, illustrations, and the obtained values and benefits had the IOC of 1.00; while the quality in terms of book format and contents had the IOC of 0.67 – 1.00; also, the students had overall opinion toward the supplementary reading that the supplementary reading was appropriate at the highest level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_159238.pdfเอกสารฉบับเต็ม20.62 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons