กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2833
ชื่อเรื่อง: การสร้างหนังสืออ่านเพิ่มเติมนิทานพื้นบ้านของ 3 ชนเผ่า สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 อำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Construction of a supplementary reading entitled Folk Tales of Three Tribes for Prathom Suksa VI students in Thatum District, Surin Province
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: วรรณา บัวเกิด
ประพจน์ ผกานนท์, 2516-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณี
ภาษาไทย--หนังสืออ่านประกอบ
นิทานพื้นเมือง--ไทย--สุรินทร์
การศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอน
วันที่เผยแพร่: 2560
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างหนังสื่ออานเพิ่มเติม นิทานพื้นบ้านของ 3 ชนเผ่า สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 อำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์และ2) ตรวจสอบคุณภาพของหนังสื่ออานเพิ่มเติม นิทานพื้นบ้านของ 3 ชนเผ่า สำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่6 อำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินิทร กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน ที่มีความรู้ด้านการเขียนหนังสื่ออานเพิ่มเติม ด้านนิทานพื้นบ้านของจังหวัดสุรินิทร ด้านการจัดการเรียนการสอนภาษาไทย และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ (1) หนังสื่ออานเพิ่มเติม นิทานพื้นบ้านของ 3 ชนเผ่า สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 อำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินิทร (2)แบบประเมินคุณภาพหนังสือโดยผู้เชี่ยวชาญ และ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน เกี่ยวกับหนังสื่ออานเพิ่มเติม นิทานพื้นบ้านของ 3 ชนเผ่า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าดัชนีความสอดคล้อง ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการศึกษาปรากฏว่า (1) หนัง่สื่ออานเพิ่มเติม นิทานพื้นบ้านของ 3 ชนเผ่า สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 อำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินิทร ประกอบด้วยเนื้อเรื่อง จำนวน 4 บท คือความรู้เรื่องเกี่ยวกับ 3 ชนเผาในจังหวัดสุรินิทร่ นิทานพื้นบ้านของชนเผาเขมร นิทานพื้นบ้านของชนเผ่ากูย และนิทานพื้นบ้านชนของเผาลาว มีภาพประกอบนิทาน คำอธิบายศัพท์และกิจกรรมท้ายเรื่อง ทุกเรื่อง และ(2) ผลการตรวจสอบคุณภาพหนังสือโดยผู้เชี่ยวชาญ พบว่า คุณภาพหนังสือด้านภาษาและตัวอักษร ด้านการจัดภาพประกอบ และด้านคุณค่าและประโยชน์ที่ได้รับ มีค่าดัชนีความสอดคล้องเท่ากับ 1.00 ด้านรูปเล่ม ด้านเนื้อหา มีค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง 0.67-1.00 และโดยภาพรวมนักเรียนมีความคิดเห็นเกี่ยวกับ หนังสื่ออานเพิ่มเติมเรื่องนิทานพื้นบ้านของ 3 ชนเผ่า ว่า มีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2833
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Edu-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
fulltext_159238.pdfเอกสารฉบับเต็ม20.62 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons