Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2834
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิรักษ์ อนะมาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปาริชาติ แก้วกันยา, 2515--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-26T07:27:35Z-
dc.date.available2023-01-26T07:27:35Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2834-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างหนังสือส่งเสริมการอ่านเรื่อง “เที่ยวเมืองชัยภูมิ” สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จังหวัดชัยภูมิและ (2) ตรวจสอบคุณภาพหนังสือ ส่งเสริมการอ่านที่สร้างขึ้น ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านภาษาไทยและด้านการสร้างหนังสือส่งเสริมการอ่าน จำนวน 3 คน และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ (1) แบบประเมินคุณภาพหนังสือส่งเสริมการอ่านโดยผู้เชี่ยวชาญ และ (2) แบบประเมินความพึงพอใจ ของนักเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการศึกษาปรากฏว่า (1) หนังสือส่งเสริมการอ่านที่สร้างขึ้น มีเนื้อหาประกอบด้วย เนื้อเรื่องเกี่ยวกับเมืองชัยภูมิ จำนวน 5 เรื่อง คือ 1) เมืองผู้กล้า พระยาแล 2) ถักทอสายใยรัก สู่ผืนผ้า 3) หม่ำ ด้วยรักและคิดถึง 4) ของขวัญจากธรรมชาติ 5) ประเพณี ความเชื่อและการละเล่น พร้อม กิจกรรมท้ายเรื่อง และภาพประกอบ และ (2) คุณภาพของหนังสือส่งเสริมการอ่านประเมินโดย ผู้เชี่ยวชาญ มีผลการประเมินทั้ง 5 ด้าน คือ ด้านเนื้อหา ด้านการใช้ภาษา ด้านภาพประกอบ ด้านรูปเล่มและการจัดรูปแบบ และด้านคุณค่าที่ได้รับอยู่ในระดับมาก และนักเรียนมีความพึงพอใจ ต่อหนังสือส่งเสริมการอ่านอยู่ในระดับมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectหนังสืออ่านประกอบ--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--ชัยภูมิth_TH
dc.subjectการอ่าน--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectภาษาไทย--การอ่าน--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--การสอนด้วยสื่อth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleการสร้างหนังสือส่งเสริมการอ่านเรื่อง “เที่ยวเมืองชัยภูมิ” สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จังหวัดชัยภูมิth_TH
dc.title.alternativeThe construction of a reading enhancement book entitled “visit Mueang Chaiyaphum” for Prathom Suksa V students in Chaiyaphum Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to construct a reading enhancement book entitled “Visit Mueang Chaiyaphum” for Prathom Suksa V students in Chaiyaphum province; and (2) to verify quality of the constructed reading enhancement book. The informants for this study consisted of a group of 3 experts on Thai language teaching and reading enhancement book construction and a group of 10 Prathom Suksa V students in Chaiyaphum province. The instruments employed for quality verification comprised (1) a reading enhancement book quality verification form for the experts, (2) a form for assessment of student’s satisfaction. Data were statistically analyzed using the percentage, mean, and standard deviation. Findings of the study were as follows: (1) the constructed reading enhancement book had contents comprising 5 stories: 1) The Town of the Brave Phya Lae; 2) Knitting the Fiber of Love to Make Cloths; 3) Mum, with Love and Remembrance; 4) The Gift from Nature; and 5) Traditions, Beliefs, and Festivals; each of the stories contained end-of-story activities and illustrations; and (2) the quality of the constructed reading enhancement book, as verified by experts, was at the high level in all five aspects, namely, the contents, the language usage, the illustrations, the book appearance and format, and the benefits of the book; furthermore, the students’ satisfaction with the reading enhancement book was at the highest level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_159420.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.93 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons