Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/283
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ลาวัณย์ ถนัดศิลปกุล | th_TH |
dc.contributor.author | สยามล เจริญผล, 2528- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-06T05:31:41Z | - |
dc.date.available | 2022-08-06T05:31:41Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/283 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559 | th_TH |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยเรื่องปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการป้องกันการผูกขาดทางการค้า : ศึกษากรณี มาตรการควบคุมผู้ประกอบการกีดกันไม่ให้ผู้บริโภคซื้อสินค้าจากนอกราชอาณาจักรมาใช้เองภายใต้มาตรา 28 แห่งพระราชบัญญัติแข่งขันทางการค้า พ.ศ.2542 มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาถึงประวัติ ความเป็นมา หลักการ ในการออกพระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 มาตรา 28 เกี่ยวกับการจํากัดโอกาสของบุคคลในการซื้อสินค้าและบริการมาใช้เอง จากผู้ประกอบธุรกิจนอกราชอาณาจักรโดยตรง (2) ศึกษาปัญหาการบังคับใช้ พระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 มาตรา 28 (3) ศึกษาถึงปัญหาในการนําจุดมุ่งหมายในการคุ้มครองผู้บริโภคมาใช้ใน พระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 มาตรา 28 (4) ศึกษาและปรับปรุง แก้ไขพระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 มาตรา 28 ให้สอดคล้องและรองรับการเปิดเสรีในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยศึกษาจากกฎหมายจากประเทศที่พัฒนาแล้ว ได้แก่ ประเทศสหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และประเทศญี่ปุ่น เพื่อปรับปรุงแก้ไขให้กฎหมายแข่งขันทางการค้าของไทยเป็นไปตามสากล การศึกษาวิจัยฉบับนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยเอกสารรวบรวมข้อมูลกฎหมายที่ เกี่ยวข้องจากเอกสาร หนังสือ ตํารา บทความ วิทยานิพนธ์ งานวิจัย คําพิพากษาศาลฎีกา เป็นต้น ผลการศึกษาพบว่า พระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 มาตรา 28 เป็นกฎหมายที่ห้าม ผู้ประกอบการเด็ดขาดไม่ให้กระทําการใดๆ เพื่อจํากัดโอกาสของบุคคลซึ่งอยูในราชอาณาจักรที่ประสงค์จะซื้อ สินค้าหรือบริการมาใช้เอง ในการเลือกซื้อสินค้าหรือบริการจากผู้ประกอบธุรกิจซึ่งอยูนอกราชอาณาจักรโดยตรง เป็นการแทรกแซงการประกอบธุรกิจมากจนเกินความเหมาะสม หากผู้ประกอบธุรกิจกระทําไปมีโทษทางอาญา แม้ว่าจะไม่มีผลกระทบต่อตลาดหรือการแข่งขันเลยก็ตาม อีกทั้ง ต่างประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น ไม่มีกฎหมายแบบเดียวกับมาตรา 28 ของไทย จึงอาจกล่าวได้ว่ามาตรา 28 เป็นกฎหมายที่ไม่เป็นสากล ข้อเสนอแนะจากการศึกษาครั้งนี้ คือ ปรับแก้มาตรา 28 ไม่ให้ผู้ประกอบธุรกิจรับผิดเด็ดขาด โดยผู้ประกอบธุรกิจ จะรับผิดก็ต่อเมื่อการกระทําที่จํากัดโอกาสนั้นมีลักษณะที่ไม่เป็นธรรมหรือไม่มีเหตุอันสมควร หรือกระทบต่อการแข่งขัน เนื่องจากรัฐควรเข้ามาควบคุมเอกชนในระดับที่เหมาะสมเท่านั้น จึงจะเป็นไปตามเจตนารมณ์ของ กฎหมายแข่งขันทางการค้า | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.118 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การค้าผูกขาด--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | th_TH |
dc.subject | ผู้บริโภค | th_TH |
dc.title | ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการป้องกันการผูกขาดทางการค้า : ศึกษากรณีมาตรการควบคุมผู้ประกอบการกีดกันไม่ให้ผู้บริโภคซื้อสินค้าจากนอกราชอาณาจักรมาใช้เองภายใต้มาตรา 28 แห่งพระราชบัญญัติแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 | th_TH |
dc.title.alternative | Some legal problems relating to antitrust laws : A case study on legal measures of competition law monitoring the entrepreneurs to prevent consumers from purchasing goods or obtaining services Outside Thailand for Personal Consumption under the Trade Competition Act B.E. 2542, Section 28 | en_US |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2016.118 | en_US |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.118 | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this thesis are: (1) To study the history, derivation, and principle of The Trade Competition Act B.E. 2542, Section 28 limiting the opportunities of a person to purchase goods or obtain services for personal consumption from the business operators outside Thailand. (2) To study the enforcement problem of Trade Competition Act B.E. 2542, Section 28. (3) To study the problems aiming at consumer protection under Trade Competition Act B.E. 2542, Section 28 (4) To study and propose to the Trade Competition Act B.E. 2542, Section 28 to be consistent with the trade liberalization, and to facilitate free trade by making a comparison of laws and regulations of EU, USA, and Japan with the competition laws of Thailand in order to develop the competition laws of Thailand to be in line with the international principles. This thesis is a qualitative research based on documentary research conducted by collecting data from various sources; laws and regulations, documents, textbooks, articles, thesis, and Supreme Court judgments. The results from the studies of this thesis showed that The Trade Competition Act B.E. 2542, Section 28 is the law strictly prohibited the entrepreneurs to restraint Thai residents from directly purchasing goods or obtaining services from the business operators outside Thailand with unnecessary interfering the market. Consequently, the entrepreneurs will encounter criminal charge and penalty even though there is no impact on the market or competition. Moreover, there is no such law as Section 28 in the countries such as the US, the EU and Japan. It showed that Article 28 is not in line with the international principles, so the author recommends to amend Article 28 so that the entrepreneurs will be liable only in the case that they have restraint the opportunity of the consumers that is unfair or unreasonable or having impact on competition. The state should control the private sector at an appropriate levels only, according to the spirit of the competition law. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | รังสิกร อุปพงศ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Law-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib152836.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.34 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License