Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2875
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorส่งเสริม หอมกลิ่น, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพงษ์พัฒน์ โภชนาธาร-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-27T07:02:53Z-
dc.date.available2023-01-27T07:02:53Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2875-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพทั่วไปทางสังคมและเศรษฐกิจของสมาชิกสหกรณ์ (2) ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจขายน้ำยางพาราสดของสมาชิกสหกรณ์และ (3) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการขายน้ำ ยางพาราสดของสมาชิกสหกรณ์กองทุนสวนยางเกาะแก้วพัฒนา จำกัด จังหวัดสุราษฎร์ธานี ประชากรที่ศึกษาเป็นสมาชิกสหกรณ์กองทุนสวนยางเกาะแก้วพัฒนา จำกัด ที่ขายน้ำยางพาราสดกับ สหกรณ์ทั้งหมด จำนวน 63 คน เก็บตัวอย่างจากประชากรทั้งหมด เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่แบบสอบถาม สถิติ ที่ใช้ได้แก่ค่าความถี่ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า (1) สมาชิกส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีช่วงอายุ 41-50 ปี มีการศึกษาระดับประถมศึกษา มี จำนวนสมาชิกในครัวเรือนที่ช่วยทำการเกษตรจำนวน 1-2 คน จำนวนพื้นที่ปลูกยางพารา (ที่กรีดได้) 10-20 ไร่ ระยะ ทางการขนส่งน้ำยางพาราสดจากสวนยางพาราถึงจุดรับซื้อ 1-5 กิโลเมตร รายได้จากการขายน้ำยางพาราสดเฉลี่ยต่อ เดือน 5,001-10,000 บาท ระยะเวลาการเป็นสมาชิกสหกรณ์ 1-5 ปี และความถี่ในการขายน้ำยางพาราสดให้กับสหกรณ์ เป็นประจำคือ ขายทุกครั้งที่กรีด ปริมาณน้ำยางพาราสดที่ขายให้กับสหกรณ์ 51-100 กิโลกรัม (2) ปัจจัยที่มีผลต่อการ ตัดสินใจขายน้ำยางพาราสดของสมาชิกสหกรณ์กองทุนสวนยางเกาะแก้วพัฒนา จำกัด ได้แก่ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ (น้ำ ยางพาราสด) ด้านราคา ด้านช่องทางการจำหน่ายอยู่ในระดับมากส่วนด้านการส่งเสริมการตลาด อยู่ในระดับปานกลาง โดยปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจขายน้ำยางพาราสดของสมาชิกในระดับที่สูงเป็นลำดับแรกคือปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ (น้ำ ยางพาราสด) รองลงมาคือปัจจัยด้านช่องทางการจำหน่ายอยู่ปัจจัยด้านราคา และด้านการส่งเสริมการตลาด ตามลำดับ (3) ปัญหาและอุปสรรคในการขายน้ำยางพาราสดได้แก่การให้บริการล่าช้า/ เจ้าหน้าที่ให้บริการน้อย ค่าเปอร์เซ็นต์น้ำ ยางพาราสดที่วัดได้ต่ำไปจากเดิมมาก และข้อเสนอแนะในการขายน้ำยางพาราสดของสมาชิกได้แก่ ปรับปรุงการวัดค่า เปอร์เซ็นต์น้ำยางพาราสดให้ตรงกับความเป็นจริง ความเพียงพอของเจ้าหน้าที่ต่อการให้บริการ ความรวดเร็วในการ ให้บริการth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectยางพาราth_TH
dc.subjectยางพารา--ไทย--สุราษฎร์ธานีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจขายน้ำยางพาราสดของสมาชิกสหกรณ์กองทุนสวนยางเกาะแก้วพัฒนา จำกัด จังหวัดสุราษฎร์ธานีth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting members' decisions to sell raw latex to Koh Kaew Patana Rubber Plantation Fund Cooperative, Limited, Surat Thani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) the socio-economic factors of members of Koh Kaew Patana Rubber Plantation Fund Cooperative, Limited; (2) the factors that affect their decision to sell the raw latex they produce to the cooperative; and (3) related problems and suggestions. The sample population consisted of 63 members of Koh Kaew Patana Rubber Plantation Fund Cooperative, Limited, in Surat Thani Province, who had sold their raw latex to the cooperative. Data were collected form all of poperlation by using a questionnaire and statistically analyzed to find frequency, percentage, mean, and standard deviation, as well as by content analysis. The results showed that (1) the majority of samples was male, in the 41-50 age range, educated to primary school level, with 1-2 family members working on the plantation. They produced rubber on 10-20 rais ( 1 rai = 1600 m2 ) (harvestable area) and their plantations were located 1-5 km from the cooperative’s latex buying point. They reported income from latex sales of 5,001 – 10,000 baht a month and had been members of the cooperative for 1 – 5 years. The surveyed members sold all their latex to the cooperative every time they harvested, amounting to about 51-100 kg. ( 2) Marketing mix factors that had affected the members’ decisions to sell their latex to the cooperative at a high level were the factors of product, place, and price, ranked in that order. The factor of promotion affected their decisions to a medium level. (3) The problems the rubber producers had were slowness in the sale process due to a lack of personnel and rubber percentage measurements that were lower than they used to be. Their suggestions were for the cooperative to speed the sales process by providing more service personnel and to improve the rubber percentage measurement instruments to make the measurements more accurateen_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
148428.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.84 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons