Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2895
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจุฬารัตน์ ธรรมประทีปth_TH
dc.contributor.authorทัณฑิมา ศรีสร้อย, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-27T11:23:07Z-
dc.date.available2023-01-27T11:23:07Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2895en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยมโนมติทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนพังโคนวิทยาคม จังหวัดสกลนคร หลังการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ร่วมกับการเขียนแผนผังมโนมติ เรื่องระบบนิเวศ กับเกณฑ์ร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนพังโคนวิทยาคม จังหวัดสกลนคร จำนวน 1 ห้องเรียน นักเรียนจำนวน 32 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบวัดมโนมติทางวิทยาศาสตร์เรื่องระบบนิเวศ และแผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ร่วมกับการเขียนแผนผังมโนมติ เรื่องระบบนิเวศวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการวิจัยปรากฏว่าคะแนนเฉลี่ยมโนมติทางวิทยาศาสตร์ เรื่องระบบนิเวศ ของนักเรียนหลังเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ร่วมกับการเขียนแผนผังมโนมติ สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมโนมติที่นักเรียนมีความเข้าใจระดับสมบูรณ์มากที่สุด คือมโนมติเรื่องทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ส่วนมโนมติที่นักเรียนมีความเข้าใจในระดับคลาดเคลื่อนมากที่สุด คือเรื่องความสัมพันธ์ของวัฏจักรน้ำและคาร์บอนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้th_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ร่วมกับการเขียนแผนผังมโนมติ เรื่องระบบนิเวศ ที่มีต่อมโนมติทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนพังโคนวิทยาคม จังหวัดสกลนครth_TH
dc.title.alternativeEffects of the inquiry learning activities management and concept map in the topic of ecosystem on scientific concepts of Mathayom Suksa III students at Phangkhon Wittayakom school in Sakon Nakhon Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare against the 70 percent of full score criterion using scientific concepts mean score of Mathayom Suksa III student at Pangkhon Wittayakom School in Sakhon Nakhon province after learning under the inquiry learning activities management and concept mapping in the topic of Ecosystem. The sample of this research consisted of 32 Mathayom Suksa III students in an intact classroom of Pangkhon Wittayakom School in Sakhon Nakhon province during the second semester of the 2016 academic year, obtained by cluster random sampling. The research instruments were a scientific concepts test and a learning management plan for the inquiry learning activities management and concept mapping in the topic of Ecosystem. Research data were analyzed using the percentage, mean, standard deviation, and t-test. The research findings revealed that the scientific concepts mean score in the topic of Ecosystem of the students after learning under the inquiry learning activities management and concept mapping was higher than the 70 percent of full score criterion at the .05 level of statistical significance. The concept that the students had the most complete understanding was the concept of natural resources and environment; while the concept that the students had the highest misconception level was the concept of water and carbon cycle relations.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_155623.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.9 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons