Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2901
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรีรัตน์ อารีรักษ์สกุล กองโลกth_TH
dc.contributor.authorคมกริช อินนะไชย, 2533-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-28T02:54:04Z-
dc.date.available2023-01-28T02:54:04Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2901en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้แบบอุปนัย-นิรนัยร่วมกับเทคนิคการใช้คำถามระดับสูงเพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณในวิชาคณิตศาสตร์ และ (2) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบอุปนัย นิรนัยร่วมกับเทคนิคการใช้คำถามระดับสูงก่อนและหลังเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์จํานวน 50 คน โดยกําหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ GrPower โดยใช้กระบวนการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย (1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบอุปนัย นิรนัยร่วมกับเทคนิคการใช้คำถามระดับสูง และ (2) แบบวัดความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณฉบับก่อนและหลังเรียน ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.89 และ 0.90 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงแบบมาตรฐานความแปรปรวน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) ความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณในวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนแบบอุปนัย - นิรนัยร่วมกับเทคนิคการใช้คำถามระดับสูงมีพัฒนาการดีขึ้น และ (2) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบอุปนัย นิรนัยร่วมกับเทคนิคการใช้คำถามระดับสูงมีความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณในวิชาคณิตศาสตร์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05.th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectคณิตศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleผลของการจัดการเรียนรู้แบบอุปนัย - นิรนัยร่วมกับเทคนิคการใช้คำถามระดับสูงที่มีต่อความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณในวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2th_TH
dc.title.alternativeEffects of inductive - deductive management together with the use of higher order questioning technique on critical thinking ability in mathematics of Mathayom Suksa II studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to compare mathematics problem solving ability in the topic of Surface Area and Volume of Mathayom Suksa III students in the group receiving learning activities management using the open approach with the counterpart ability of students in the group receiving normal learning activities management. The research sample consisted of 94 Mathayom Suksa III students in two intact classrooms, each of which consisting of 47 students, of Prachuap Wittayalai School in Prachuap Khiri Khan province during the first semester of the 2019 academic year, obtained by cluster random sampling. The employed research instruments comprised (1) learning management plans in the topic of Surface Area and Volume for the learning activities management using the open approach; (2) learning management plans in the topic of Surface Area and Volume for the normal learning activities management; and (3) a scale to assess mathematics problem solving ability in the topic of Surface Area and Volume. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that mathematics problem solving ability in the topic of Surface Area and Volume of Mathayom Suksa III students in the group receiving learning activities management using the open approach was significantly higher than the counterpart ability of the students in the group receiving normal learning activities management at the .05 level of statistical significance.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_165713.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.91 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons