Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2923
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจุฬารัตน์ ธรรมประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิภาวี จินดานุรักษ์, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-29T07:24:09Z-
dc.date.available2023-01-29T07:24:09Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2923-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์ โดยการจัดการเรียนรู้โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้และการบ่งชี้ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธุกรรมกับของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จากโรงเรียนคณะราษฎร์บำรุงปทุมธานีจำนวน 68 คนจำนวน 2 ห้องเรียน ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้และการบ่งชี้ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธุกรรม แบบสำรวจความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ อนุทินสะท้อนความคิดของนักเรียน และแบบบันทึกการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่าค่าเฉลี่ยคะแนนความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ของนักเรียนหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้และการบ่งชี้ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ มีค่าสูงกว่าก่อนเรียนและมีค่าสูงกว่าของกลุ่มที่เรียนจากการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้แต่เพียงอย่างเดียว อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 และพบว่านักเรียนส่วนใหญ่มากกว่าร้อยละ 60 มีการเปลี่ยนแปลงความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ทั้ง 9 ประเด็น จากระดับเข้าใจคลาดเคลื่อน และระดับเข้าใจบางส่วนเป็นระดับเข้าใจถูกต้องชัดเจน ประเด็นธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ที่นักเรียนมีการเปลี่ยนแปลงความเข้าใจมากที่สุด ได้แก่ (1) นักวิทยาศาสตร์เข้าร่วมในกิจกรรมทางสังคมในฐานะผู้เชี่ยวชาญหรือพลเมืองของสังคม (2) วิทยาศาสตร์เป็นการผสมผสานระหว่างเหตุผลกับจินตนาการและ (3) ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เปลี่ยนแปลงได้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้th_TH
dc.subjectการจัดการชั้นเรียนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้และการบ่งชี้ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธุกรรม ที่มีต่อความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีความสามารถพิเศษทางด้านวิทยาศาสตร์ จังหวัดปทุมธานีth_TH
dc.title.alternativeThe effects of learning management using inquiry-based learning and explicit nature of science approach in the topic of Heredity on nature of science understanding of science talented Mathayom Suksa III students in Pathum Thani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare the level of understanding of nature of science of science talented Mathayom Suksa III students learning under learning management using inquiry-based learning and explicit nature of science approach with that of the students learning under the conventional method. The research sample consisted of 68 Mathayom Suksa III students of the mathematics-science learning program in two special classrooms of science, mathematics, technology and environment of Khanarat Bamrung School in Pathum Thani province during the first semester of the 2017 academic year, obtained by cluster sampling. The employed research instruments were learning activity management plans for the inquiry-based learning and explicit nature of science approach in the topic of Heredity; a survey questionnaire on the understanding of nature of science; diaries reflecting ideas of students; and a note taking form on learning management for the teacher. The data were analyzed using the frequency, percentage, standard deviation, and t-test. The research findings revealed that the post-learning mean score on the understanding of nature of science of the students who learned under the learning management using inquiry-based learning and explicit nature of science approach in the topic of Heredity was significantly higher than their pre-learning counterpart mean score at the .01 level. Also, the post-learning mean score on the understanding of nature of science of the students who learned under the learning management using inquiry-based learning and explicit nature of science approach in the topic of Heredity was significantly higher than the post-learning counterpart mean score of the students who learned under the inquiry-based learning approach alone at the .01 level. In addition, it was found that the majority, or more than 65 percent, of the students, had changed their levels of understanding of nature of science in all of the nine concepts from the levels of misconception and partly understanding to the level of correct and clear understanding. The concepts on nature of science that the students had changed their levels of understanding most were (1) the scientists participate in social activities as experts or citizens of the society; (2) science is the combination of reason and imagination; and (3) scientific knowledge is changeable.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_160961.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.46 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons