Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2934
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorส่งเสริม หอมกลิ่น, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพรจิตรา จันทร์แฝก-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-30T04:17:13Z-
dc.date.available2023-01-30T04:17:13Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2934-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยส่วนบุคคลของสมาชิก 2) พฤติกรรมการซื้อสินค้า อุปโภคบริโภคของสมาชิก 3) ระดับความสำคัญของส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าอุปโภค บริโภคของสมาชิก 4) ความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคของสมาชิก และ 5) ความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนประสมการตลาดกับพฤติกรรมการซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคของสมาชิกสหกรณ์ การเกษตรบางเลน จำกัด จังหวัดนครปฐม การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรใช้ในการศึกษา คือ สมาชิกของสหกรณ์การเกษตร บางเลน จำกัด ณ วันที่ 30 กันยายน 2559 จำนวน 1,091 ราย ตัวอย่าง กำหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตรของยามาเน จำนวน 293 ราย สุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และไคว์สแคว์ ผลการศึกษาพบว่า 1) สมาชิกส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุ 60 ปีขึ้นไป การศึกษาระดับประถมศึกษา ระยะเวลาการเป็นสมาชิกของสหกรณ์ 21 ปี ขึ้นไป อาชีพหลักคือเกษตรกร รายได้ของครอบครัวต่อเดือน 10,001 – 15,000 บาท 2) พฤติกรรมการซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคของสมาชิก ประกอบด้วย (1) ข้าวสาร ส่วนใหญ่ ปริมาณที่ซื้อ 1,001 บาทขึ้นไปต่อครั้ง ซื้อมากกว่า 11 ครั้งต่อปี (2) ผลิตภัณฑ์ปรุงอาหาร ส่วนใหญ่ปริมาณที่ซื้อ 501 บาทขึ้นไป ต่อครั้ง และซื้อ 9-10 ครั้ง ต่อปี (3) เครื่องดื่ม ส่วนใหญ่ปริมาณที่ซื้อ 200 บาทขึ้นไปต่อครั้ง และซื้อ 9-10 ครั้งต่อปี (4) ผลิตภัณฑ์บำรุงผิวกาย ส่วนใหญ่ปริมาณที่ซื้อ 101-300 บาทต่อครั้ง และ ซื้อมากกวา 11 ครั้งต่อปี (5) ผลิตภัณฑ์ทำ ความสะอาด ส่วนใหญ่ปริมาณที่ซื้อ 301 -500 บาทต่อครั้ง และ ซื้อ 7-8 ครั้งต่อปี 3) ระดับความสำคัญของปัจจัยส่วน ประสมการตลาดกับพฤติกรรมการซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคของสมาชิก โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด คือ ด้าน ผลิตภัณฑ์ ด้านราคา และ ด้านการจัดจำหน่าย ตามลำดับ ส่วนด้านการส่งเสริมการตลาดอยู่ในระดับมาก 4) ความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนบุคคลกับ พฤติกรรมการซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคของสมาชิกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 พบว่า (1) ระดับการศึกษามีความสัมพันธ์กับความถี่ในการซื้อผลิตภัณฑ์ปรุงอาหารแต่ละครั้ง (2) อาชีพ หลักมีความสัมพันธ์กับปริมาณในการซื้อข้าวสาร และผลิตภัณฑ์บำรุงผิวกายแต่ละครั้ง (3) รายได้ของครอบครัวต่อ เดือนมีความสัมพันธ์กับความถี่ในการซื้อข้าวสาร ผลิตภัณฑ์ปรุงอาหาร ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดแต่ละครั้ง และ ปริมาณในการซื้อผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดแต่ละครั้ง 5) ความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนประสมการตลาดกับพฤติกรรม การซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคของสมาชิก พบว่า (1) ด้านผลิตภัณฑ์มีความสัมพันธ์กับความถี่ในการซื้อผลิตภัณฑ์ สำหรับปรุงอาหารแต่ละครั้งและ (2) ด้านการส่งเสริมการตลาดมีความสัมพันธ์กับความถี่ในการซื้อข้าวสารและ ปริมาณในการซื้อผลิตภัณฑ์ปรุงอาหารแต่ละครั้งth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสมาชิกสหกรณ์การเกษตร บางเลน จำกัด จังหวัดนครปฐมth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค--การตัดสินใจth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค--ไทย--นครปฐมth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleพฤติกรรมการซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคของสมาชิกสหกรณ์การเกษตร บางเลน จำกัด จังหวัดนครปฐมth_TH
dc.title.alternativeMembers' buying behavior of consumer products of Bang Len Agricultural Cooperatives Ltd., Nakhon Pathom Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to study 1) individual factor of members, 2) members’ buying behavior of consumer products, 3) significant level of marketing mix affecting members’ buying behavior of consumer products, 4) relationship of individual factor and members’ buying behavior of consumer products, and 5) relationship of marketing mix with members’ buying behavior of consumer products of Bang Len Agricultural Cooperatives Ltd., Nakhon Pathom Province. The population in this survey research was a number of 1,091 members of Bang Len Agricultural Cooperatives Ltd., as of September 30, 2016. With Yamane formula, sample size identification of 293 members selected by simple random sampling. Tool used was questionaire and statistics used were frequency, percentage, standard deviation and chi-square test. The result showed that 1) most of the members were male, aged over 60 years. They finished primary school. Membership duration was more than 21 years. Their main occupation was agricultural farming. Their income was 10,001-15,000 baht/month. 2) Members’ buying behavior of consumer products composed of the followings. (1) Milled rice, they mostly bought over 1,001 baht/time and over 11 times/year. (2) Cooking products, they mostly bought 501 baht/time and over 9-10 times/year. (3) Beverages, they mostly bought over 200 baht/time and over 9-10 times/year. (4) Body products, they mostly bought 101-300 baht/time and over 11 times/years. (5) Cleaning products, they mostly bought 301-500 baht/time and 7-8 times/years. 3) Overall significant level of marketing mix affecting members’ buying behavior of consumer products was at the highest level in terms of products, price and selling management, respectively, whereas marketing promotion was at high level. 4) Apparently, relationship of individual factor affecting members’ buying behavior of consumer products was at 0.05 statistical significance. Findings were as follows. (1) It was found relationship between education level with frequency in buying cooking products each time. (2) It was found relationship between main occupation with quantity in buying milled rice and body products each time. (3) It was found relationship between household income with frequency in buying milled rice, cooking products, cleaning products each time and with quantity in buying cleaning products each time. 5) Relationship of marketing mix with members’ buying behavior of consumer products; it was discovered as follows. (1) It was discovered relationship between products and frequency in buying cooking products each time, and (2) it was discovered relationship between marketing promotion and frequency in buying milled rice and quantity in buying cooking products each timeen_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
154889.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.37 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons