กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2949
ชื่อเรื่อง: การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานและฐานะทางการเงินของสหกรณ์ออมทรัพย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำกัด
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Analysis of the operation and financial statement of Chulalongkorn University Saevings Cooperatives Limited
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: ปัญญา หิรัญรัศมี
พีรนุช ชัยเสรี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณี
สหกรณ์ออมทรัพย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สกรณ์ออมทรัพย์--การบริหาร
สกรณ์ออมทรัพย์--การเงิน
การศึกษาอิสระ--สหกรณ์
วันที่เผยแพร่: 2550
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพิ่อ 1. ศึกษาสภาพทั่วไปของสหกรณ์ออมทรัพย์สหกรณ์ออม ทรัพย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำกัด 2. วิเคราะห์ผลการดำเนินงานและฐานะทางการเงินของสหกรณ์ ออมทรัพย์สหกรณ์ออมทรัพย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำกัด 3. ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะการ กำเนินงานของสหกรณ์ออมทรัพย์สหกรณ์ออมทรัพย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำกัด ข้อมูลที่ไข้ในการวิชัยครั้งนี้เป็นข้อมูลทุติยภูมิ ซึ่งรวบรวมจากหนังสือ ตำรา งานวิจัย วิทยานิพนธ์ รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระ เอกสารต่าง ๆ โดยสหกรณ์ออมทรัพย์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย จำกัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องวิธีการที่ใช้ในการศึกษาคือ การวิเคราะห์ข้อมูล เกี่ยวกับแผนกลอุทธ์ (strategy) โครงสร้างขององค์กร (structure) และรูปแบบการบริการจัดการ (style) และ วิเคราะห์ฐานะทางการเงิน ในเรื่องสภาพคล่องการเงิน ประสิทธิภาพในการใช้สินทรัพย์ความสามารถใน การก่อหนี้ และประสิทธิภาพในการทำกำไร สถิติที่ใชัในการศึกษาครั้งนี้ใช้ค่ารัอยละ และค่าเฉลี่ย ผลการศึกษาเกี่ยวกับแผนกลอุทธ์ (strategy) โครงสรัางขององค์กร (structure) และรูปแบบ การบริการจัดการ (style) และวิเคราะห์ฐานะทางการเงิน ในเรื่องสภาพคล่องการเงิน ประสิทธิภาพในการ ใช้สินทรัพย์ ความสามารถในการก่อหนี้และประสิทธิภาพในการทำกำไร สถิติที่ใช์ในการศึกษาครั้งนี้ ใช้ ค่ารัอยละ และค่าเฉลี่ย สำหรับสภาพแวดลัอมภายในที่ทำให้เป็นจุดแข็ง ดังกล่าวประกอบไปด้วย ด้าน โครงสรัาง ด้านทรัพยากรมนุษย์ ด้านสินค้า/บริการ สำหรับปัจจัยสภาพแวดลัอมภายในที่ทําให้เป็นจุดแข็งใน การดำเนินธุรกิจ เช่น คณะกรรมการดำเนินการของสหกรณ์ มีประสบการณ์มีภาวะผู้นำสูงมีความสามารถ ตัดสินใจฉับไวทันต่อสถานการณ์ มีการติดตามผลการปฏิบัติงาน ในส่วนอุปสรรค และจุดอ่อน นั้น ผู้ศึกษา มีข้อเสนอ เช่น สหกรณ์ควรมีการส่งเสริมความรู้ด้านกฎระเบียบ ข้อบังคับ ของสหกรณ์เพื่อความเข้าใจที่ ถูกต้องตรงกัน และเพื่อการดำเนินการจะได้ไปในทิศทางเดียวกัน การเพิ่มตราสินค้า การส่งเสริมสหกรณ์ บางอย่างจากทางราชการอาจเหมาะสมกับบางสหกรณ์ต้องควรเลือกใชัให้เหมาะสมกับสภาพของสหกรณ์เอง ในการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปปรับปรุงแผนกลยุทธ์ที่มีอยู่แล้วให้สมบูรณ์ขึ้นและตรงกับเปัาหมายในการ ดำเนินงานของสหกรณ์
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2949
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Agri-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
113068.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.63 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons