Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2953
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอนุชา ภูริพันธุ์ภิญโญth_TH
dc.contributor.authorอรุณี เตชะเสนา, 2522-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-01-31T08:46:38Z-
dc.date.available2023-01-31T08:46:38Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2953en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) วิถีการตลาดของผลผลิตที่ประกอบด้วยกิจกรรมที่เกิดขึ้นของสมาชิกสหกรณ์ในห่วงโซ่อุปทานทุเรียนของสหกรณ์การเกษตรเมืองนนทบุรี จำกัด (2) การมีส่วนร่วมของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรเมืองนนทบุรีจำกัด ในการจัดการในห่วงโซ่อุปทานธุรกิจทุเรียนนนทบุรี (3) ระบบการขนส่งที่เชื่อมโยงจากแหล่งผลิตถึงผู้บริโภคปลายทางประชากรที่ศึกษา ได้แก่ ผู้จัดการ 1 คนและสมาชิกจำนวน 20 คนของสหกรณ์การเกษตรเมืองนนทบุรี จำกัด กลุ่มตัวอย่างได้มาจากวิธีการเลือกแบบรเจาะจง ตามคำแนะนำของประธานกลุ่มสมาชิกสหกรณ์ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้จัดการสหกรณ์ 1 คน สมาชิกสหกรณ์จำนวน 12 คน การเก็บข้อมูลใช้วิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมโดยใช้แบบสัมภาษณ์ ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้าง และแบบสัมภาษณ์ที่ไม่มัโครงสร้าง รวมถึงการสังเกตการณ์การปฏิบัติงานในการจัด การห่วงโซ่อุปทานของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องผลการศึกษา พบว่า (1) วิถีตลาดของผลผลิตจากกิจกรรมของสมาชิกสหกรณ์ สอดคล้องกับการนำ แนวคิดการจัดการห่วงโซ่อุปทานมาประยุกต์ใช้ในการบริหารการผลิตทุเรียนของสหกรณ์ทั้งหมดในห่วงโซ่อุปทาน (2) การดำเนินการเป็นไปในลักษณะของการร่วมคิดและร่วมตัดสินใจของสมาชิกสหกรณ์และชุมชนสมาชิกสหกรณ์ส่วนใหญ่มีส่วนร่วมระดับสูง และสามารถแสดงความคิดเห็นในการตัดสินใจให้ความเห็นชอบอย่างรอบครอบ และรับผลประโยชน์ร่วมกัน (3) ระบบการขนส่งที่เชื่อมโยงจากแหล่งผลิตถึงผู้บริโภคปลายทางครอบคลุมถึงการบริหารจัดการ ด้านคุณภาพการเก็บรักษา และการบริหารเวลา ให้ทันกับความต้องการของลูกค้า การศึกษาพบว่า ในทุกขั้นตอนของการจัดการห่วงโซ่อุปทานมีความสัมพันธ์กัน เป็นสายสัมพันธ์ที่เกี่ยวเนื่องกันและมีความสำคัญทุกขั้นตอนในห่วงโซ่อุปทานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโลจิสติกส์ทางธุรกิจth_TH
dc.subjectทุเรียนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleการศึกษารูปแบบการจัดการห่วงโซ่อุปทานทุเรียนโดยวิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมกรณีศึกษาสมาชิกสหกรณ์การเกษตรเมืองนนทบุรี จำกัดth_TH
dc.title.alternativeStudy of durian supply chain management patterns by participatory action research method : a case study of Muang Nonthaburi Agricultural Cooperatives Ltd.' members.en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives were to study (1) the product market channel included the activities of Nonthaburi durian supply chain of the co-operatives’members; (2) the participation of co-operatives’ members in Nonthaburi durian supply chain management; and (3) the transportation system linked between the producers to the customers. The population was composed of a manager and 20 members of Mueang Nonthaburi Agricultural Co-operatives Ltd. The purposive sampling was used for sample selection as suggested by the chairperson of co-operatives’ member group, consisting of a manager and 12 members of the co-operatives. Participatory Action Research was conducted by utilizing the interview technique with structured and non-structured questionnaires, observation technique of the supply chain management by related persons was also applied. The study found that (1) the market channel of product which generated from co-operatives’ member activity was consistency of the concept of applied supply chain anagement in terms of the management of durian production in the supply chain theory. (2) The operations of durian production was in the shape of brain storming, shared decision making of co-operatives’ members as well as the society. Most of co-operatives’ members paid the great participation and shared the opinions of decision making thoughtfully and also shared some benefits. (3) The transportation which combined from the production sources of production to the consumers including the quality management, storage, time management led to the consumer’s demand punctually. In addition, the study found that every step of supply chain management was harmonized to every single step of those in the supply chain management process.en_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_140847.pdfเอกสารฉบับเต็ม20.04 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons