Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2972
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอนุชา ภูริพันธุ์ภิญโญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorภักดี บุญการินทร์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-02-01T07:22:40Z-
dc.date.available2023-02-01T07:22:40Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2972-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลของสมาชิกสหกรณ์การเกษตร เพื่อการตลาดลูกค้า ธกส. ลำพูน จำกัด 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่สมาชิกตัดสินใจในการใช้บริการของสหกรณ์ การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธกส. ลำพูน จำกัด วิธีการศึกษาโดยใช้ข้อมูลปฐมภูมิ โดยเก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม จากจำนวนกลุ่มตัวอย่างสมาชิก สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส.ลำพูน จำกัด ในเขตพื้นที่ ตำบลป่าสัก อำเภอเมืองลำพูน จังหวัด ลำพูน จำนวน 177 ราย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล สถิติพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติอ้างอิงที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์การถดถอย (Regression Analysis) ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยด้านส่วนประสมการตลาดมีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการของ สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ลำพูน จำกัด มีผลต่อการตัดสินใจในระดับค่อนข้างสูง ด้านราคา ได้แก่ ราคาสูงกว่าต้นทุนแต่ต่ำกว่าร้านค้าทั่วไป ราคาสูงกว่าต้นทุนแต่เท่ากับร้านค้าทั่วไป ราคาพิเศษสั่งตรงจาก ผู้ผลิตเท่ากับต้นทุน ตามลำดับ ด้านช่องทางการบริการได้แก่ การติดต่อโดยตรงกับสหกรณ์ การติดต่อผ่าน พนักงานประจำหน่วย และการติดต่อผ่านผู้ประสานงานประจำหน่วย ด้านผลิตภัณฑ์ได้แก่ ขายลำไยสดร่วง ซื้อ ปุ๋ยมาจำหน่าย ซื้อจัดหาเคมีการเกษตรมาจำหน่าย ตามลำดับ ด้านการส่งเสริมการตลาด ได้แก่ บริการจัดส่งถึงที่ ด้านบุคลากร ได้แก่ การให้บริการด้วยความถูกต้อง ความสุภาพและใช้ถ้อยคำสุภาพในการให้บริการของ เจ้าหน้าที่สหกรณ์ ความสามารถในการตอบข้อซักถามข้อสงสัยและให้คำแนะนำช่วยเหลือของเจ้าหน้าที่สหกรณ์ ความเสมอภาคในการให้บริการ ด้านสถานที่ ทำเลที่ตั้ง สหกรณ์มีการจัดทำป้าย/สัญลักษณ์ แสดงตำแหน่งของ ฝ่ายต่างๆ ชัดเจน ที่จอดรถสำหรับผู้มาติดต่อ บริเวณที่ให้บริการ ตามลำดับ ด้านระบบการให้บริการ ความรวดเร็ว ในการให้บริการ การจัดลำดับ ก่อน-หลังในการให้บริการ ด้านข้อมูลข่าวสาร มีการให้คำแนะนำเพิ่มเติมเมื่อ สมาชิกเข้าไปใช้บริการ สมาชิกมีการรับรู้ข่าวสารของสหกรณ์จากสหกรณ์อย่างต่อเนื่อง ตามลำดับ ปัจจัยที่มี ความสัมพันธ์การใช้บริการของสหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ลำพูน จำกัด ได้แก่ แบบฟอร์มการกู้ เงิน ใบเสนอราคาสินค้า การแต่งกายและบุคลิกภาพของเจ้าหน้าที่สหกรณ์ สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก ที่จอดรถสำหรับผู้มาติดต่อ มีการให้คำแนะนำเพิ่มเติมเมื่อสมาชิกเข้าไปใช้ บริการth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ลำพูน จำกัด--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.titleการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ลำพูน จำกัด กรณีศึกษาในเขตพื้นที่ตำบลป่าสัก อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูนth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting members' decision to use the service of Lamphun BAAC Customers' Agricultural Cooperative Marketing Ltd, a case study of Tambol Pasak Lamphun Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe study objectives were focused on 1) to study individual factor of member the Cooperative of Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives Customers for Marketing Ltd 2) to study the factors that effected members’ decision on cooperatives service. The study methodology was applied primary data by questionnaire as the tool for data collecting. Samples were collected from the area of Tumbol Pasak, Lamphun Province with the sample size of 177 persons. The descriptive statistics was applied such as frequency, percentage, aromatics mean, as well as standard deviation. The inferential statistics was implemented such as regression analysis. The study showed that the marketing mix had influence on the cooperatives member with the high level. For the price, the cooperatives price was higher than the cost but still lower than market price. The special price that order directly from the manufacturing was equal to the market price. For the service channel, there were a direct communication between members and cooperatives, members and the officers of service unit, For the product, there were longan selling, fertilizer selling, agricultural chemical selling, For the marketing promotion, there were delivery service, For the cooperative staff, there were accurate service, gentle service, kindness of officer service, equality of service For the location, the cooperative could have the sign to give members’ information, parking lot service. For the service aspect, the members needed the first-in-first out service as well as the useful additional information whenever the members received the service from cooperatives. Factors that affected on the cooperatives members were the loan requirement form, the price list paper work, the uniform and dressing of officers, officer’s personality, as well as the internal and external environment. The additional information were required from the cooperatives membersen_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
129179.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.07 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons