Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3005
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกัลยานี ภาคอัตth_TH
dc.contributor.authorสัณฐิติ ยรรยงเมธ, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-02-02T08:24:39Z-
dc.date.available2023-02-02T08:24:39Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3005en_US
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (บธ.ด. (วิทยาการจัดการ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาเปรียบเทียบการดำเนินงานของธนาคารเฉพาะกิจที่ดำเนินธุรกรรมสินเชื่อด้านอสังหาริมทรัพย์ในประเทศไทย (2) วิเคราะห์ประสิทธิภาพการดำเนินงานของธนาคารเฉพาะกิจในช่วงก่อนและหลังการปฏิรูปประเทศไทย (3) วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงผลิตภาพการดำเนินงานของธนาคารเฉพาะกิจในช่วงก่อนและหลังการปฏิรูปประเทศไทย และ (4) ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงผลิตภาพการดำเนินงานของธนาคารเฉพาะกิจในช่วงก่อนและหลังการปฏิรูปประเทศไทย การวิจัยครั้งนี้ศึกษาจากประชากร คือ ธนาคารเฉพาะกิจที่ดำเนินธุรกรรมสินเชื่อด้านอสังหาริมทรัพย์ในประเทศไทย 2 ธนาคาร คือ ธนาคารออมสินและธนาคารอาคารสงเคราะห์ โดยข้อมูลที่ใช้ในการศึกษา คือ ข้อมูลทุติยภูมิ ซึ่งประกอบด้วยรายงานประจำปี สำหรับระยะเวลาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546-2560 เป็นระยะเวลา 15 ปี การวิจัยดำเนินการดังนี้ (1) ศึกษาข้อมูลการดำเนินงานและข้อมูลทางการเงิน รวมทั้งวิเคราะห์งบการเงินของธนาคารเฉพาะกิจโดยใช้วิธีแนวโน้ม (2) ใช้วิธี DEA (Data Envelopment Analysis) เพื่อวิเคราะห์ประสิทธิภาพการดำเนินงานของธนาคารเฉพาะกิจ (3) ใช้ดัชนีผลิตภาพเพื่อวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงผลิตภาพการดำเนินงานของธนาคารเฉพาะกิจ และ (4) ใช้สมการถดถอยพหุเพื่อระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงผลิตภาพของธนาคารเฉพาะกิจ สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ สหสัมพันธ์เพียร์สัน สถิติที และค่า p-value ผลการศึกษาพบว่า (1) ธนาคารออมสินเป็นผู้นำในการส่งเสริมการออมและธนาคารอาคารสงเคราะห์เป็นธนาคารที่ดีที่สุดสำหรับการมีบ้าน (2) การดำเนินงานของธนาคารเฉพาะกิจในช่วงก่อนและหลังปฏิรูปประเทศไทยมีระดับประสิทธิภาพ โดยเฉลี่ยไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ณ ระดับ 0.01 (3) การเปลี่ยนแปลงผลิตภาพของธนาคารเฉพาะกิจลดลงโดยเฉลี่ยร้อยละ 0.90 และ (4) อัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสียงและเงินให้สินเชื่อต่อเงินรับฝาก เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงผลิตภาพของธนาคารเฉพาะกิจอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์--ไทยth_TH
dc.titleการวิเคราะห์การดำเนินงานของธนาคารเฉพาะกิจที่ดำเนินธุรกรรมสินเชื่อด้านอสังหาริมทรัพย์ในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeAnalysis of specialized bank operation housing loan transactions in Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาเอกth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study a comparison the operations of specialized bank housing loan transactions in Thailand (2) to analyzed the operating efficiency level of the specialized bank prior before and after the period of Thailand reform (3) to analyzed changes in productivity in the specialized bank in this period. Finally, the researcher inquiries into (4) factors influencing the levels of changes in productivity in the specialized bank in the period of concern. The population studied is 2 banks housing loan transactions in Thailand, government savings bank and government housing bank. This study used in the secondary data, annual reports. Were employed to analyze the 15-year data of the specialized bank in 2003-2017.The steps of this studied were (1) study operational and financial information including analyzing financial statements of specialized banks using trend analyze (2) used the DEA (Data Envelopment Analysis) to analyze the efficiency of the specialized bank operations (3) were analyzed to ascertain changes in levels of productivity by means of an application of Malmquist’s productivity index technique and (4) isolate factors influencing changes in productivity. The statistics used in this study were Pearson's correlation, t-statistics and p-value. The findings were as follows: (1) the government savings bank is a leader in promoting savings and the government housing bank is the best bank for having a home (2) the operating efficiency level of the specialized bank prior before and after the period of Thailand reform not different at the significant level of 0.01 (3) the productivity of specialized bank was more decreased by 0.90% and (4) BIS Ratio and Loan to Deposit Ratio were factors influencing changes in the productivity of specialized bank at the significant level of 0.01en_US
dc.contributor.coadvisorอภิญญา วนเศรษฐth_TH
dc.contributor.coadvisorชยงการ ภมรมาศth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม27.85 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons