Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3019
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พิศาล มุกดารัศมี | th_TH |
dc.contributor.author | จิตจิรา เรืองสวัสดิ์, 2533- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-02-03T06:21:11Z | - |
dc.date.available | 2023-02-03T06:21:11Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3019 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาที่มาของการเกิดโลกทัศน์ทางการเมืองจากบทบาทของ “พ่อเลี้ยง” 2) เพื่อศึกษาบทบาทและอิทธิพลของ “พ่อเลี้ยง” ต่อโลกทัศน์ทางการเมืองในการเมืองท้องถิ่น อำเภอเถิน จังหวัดลำปาง การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 3 กลุ่ม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ กลุ่มที่ 1 นักวิชาการมหาวิทยาลัยพะเยา กลุ่มที่ 2 พ่อเลี้ยงในอำเภอเถิน จังหวัดลำปาง กลุ่มที่ 3 ผู้รู้ในชุมชนและปราชญ์ชาวบ้าน ผลการศึกษาพบว่า 1) “พ่อเลี้ยง” เกิดขึ้นในยุคหลังการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และนำมาสู่การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองตั้งแต่หลังลงนามในสนธิสัญญาบาวริ่ง พ.ศ. 2398 ที่ลงนามกับอังกฤษ 2) “พ่อเลี้ยง” ได้เข้าสู่ตำแหน่งทางการเมืองในระยะของความขัดแย้งใน ปี พ.ศ. 2500-2516 ในช่วงที่จอมพลสฤษดิ์เข้ามามีอำนาจ ต่อมาเมื่อจอมพลถนอม กิตติขจร ได้เข้ามาสืบทอดอำนาจหลังจากที่จอมพลสฤษดิ์เสียชีวิต รัฐบาลของจอมพลถนอมได้เร่งรัด “นโยบายพัฒนา” เพิ่มมากขึ้น ซึ่งทำให้หัวเมืองต่างๆ กลายเป็นจุดสนใจในการท่องเที่ยว ทำรายได้เป็นจำนวนมากให้กับนายทุนในช่วงนี้กลุ่มนายทุนภาคเหนือ ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการเมืองอย่างจริงจัง โดยเฉพาะการเมืองท้องถิ่นในระดับเทศบาล 3) “พ่อเลี้ยง” เป็นบุคคลที่มีความสำคัญอย่างมากในท้องถิ่น เป็นผู้ที่สามารถพัฒนาท้องถิ่นในด้านต่างๆ ได้ เพราะเป็นผู้ที่มีความพร้อมในหลายด้าน สิ่งที่สำคัญคือ เป็นผู้ที่มีความมั่งคั่งร่ำรวย เป็นผู้กว้างขวางรู้จักกับผู้หลักผู้ใหญ่มากมายในท้องถิ่น มีท้องถิ่นที่เป็นฐานอำนาจของตัวเอง เป็นผู้ที่สามารถเข้าได้กับทุกคนตั้งแต่ชาวบ้านยากจนไปจนถึงผู้มีฐานะสูงได้ เป็นผู้ที่ให้การช่วยเหลือชาวบ้านในทุกๆ เรื่อง ที่ชาวบ้านเดือดร้อนต้องการขอความช่วยเหลือ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครองท้องถิ่น--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ผู้นำท้องถิ่น--ไทย--ลำปาง | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครองท้องถิ่น | th_TH |
dc.title | บทบาทของ "พ่อเลี้ยง" ต่อโลกทัศน์ทางการเมืองในการเมืองท้องถิ่น อำเภอเถิน จังหวัดลำปาง | th_TH |
dc.title.alternative | Role of "Pho Leang" (wealthy man) in the political worldview in local politics Thoen District, Lampang Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to study the origins of the political worldview form the role of “Pho Leang” (wealthy man), and (2) to study the roles and influences of the “wealthy man” on the political worldview in local politics Thoen District, Lampang Province. This study was a qualitative research. The purposive samples were 3 gloups as followings. Group 1: Academics at Phayao University. Group 2: Influencers who lived in Thoen District, Lampang Province. Groups 3: Knowledgeable people and folk philosopher in local community. This study found that (1) the “influencer” occurred in the post-economic ear and led to political changes since the Bowling Treaty signed with the British in 1855. (2) The “wealthy man” entered a political position dining die conflict from 1957 to 1973 While Field Marshal Saiit had a political power. Then, Field Marshal Thanom Kittikachom had an inherited power after Field Marshal Sarit died. Field Marshal Thanom’s government had accelerated “Development Policy” resulting in Chiang Mai being a popular tourism. The tourism could make a lot of income for capitalists dining this period. Then, die northern capitalists were involved in local politics especially at the municipal level. (3) The “wealthy man” is an important person in local community who able to develop local community in various aspects. He also had important things such as richness, political powrer base, and he was a w-ell-knowm person in local community. The wealthy man could able to accessible to everyone from the poor to rich people. He was a person who helps villagel's in all matters that the villagel's asked for helps | en_US |
Appears in Collections: | Pol-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 9.91 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License