Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3031
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพงศ์พันธุ์ เธียรหิรัญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorลัดดา พิศาลบุตร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorภูวนาถ หงส์ศุภางค์พันธุ์, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-02-03T07:09:17Z-
dc.date.available2023-02-03T07:09:17Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3031-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ลักษณะทั่วไปของนักท่องเที่ยวชาวไทยในเขตจังหวัดราชบุรี 2) ภาพลักษณ์ของชมพู่ทับทิมจันทร์ในสายตาของนักท่องเที่ยวจังหวัดราชบุรี 3) พฤติกรรมในการบริโภคชมพู่ทับทิมจันทร์ของนักท่องเที่ยวจังหวัดราชบุรี 4) ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของนักท่องเที่ยวกับภาพลักษณ์ของชมพู่ทับทิมจันทร์ในสายตาของนักท่องเที่ยวและพฤติกรรมการบริโภคชมพู่ทับทิมจันทร์ 5) ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการตัดสินใจบริโภคชมพู่ทับทิมจันทร์ของนักท่องเที่ยว 6) ข้อเสนอแนะเกษตรกรผู้ผลิตและผู้ขายชมพู่ทับทิมจันทร์ให้ผลิตและจาหน่ายชมพู่ทับทิมจันทร์ให้สอดคล้องกับพฤติกรรมผู้บริโภค ผลการวิจัยพบว่า 1) นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมีอายุระหว่าง 26-35 ปี สถานภาพสมรส การศึกษาตั้งแต่ระดับปริญญาตรีขึ้นไป ทำธุรกิจส่วนตัว รายได้ต่อเดือนอยู่ที่ระดับ 20,001-30,000 บาท จานวนสมาชิกในครอบครัว 3-4 คน และภูมิลำเนาอยู่ที่กรุงเทพมหานครและปริมลฑล 2) ชมพู่ทับทิมจันทร์มีภาพลักษณ์ที่ดีในสายตาของนักท่องเที่ยวเนื่องจากนักท่องเที่ยวส่วนใหญ่รู้จักชมพู่ทับทิมจันทร์ร้อยละ 87.40 และเคยรับประทานชมพู่ทับทิมจันทร์ร้อยละ 88.20 3) ผู้บริโภคเป็นผู้ตัดสินใจซื้อชมพู่ทับทิมจันทร์ด้วยตนเอง จากการพิจารณาความสดและสีของชมพู่ทับทิมจันทร์ โดยเฉลี่ยปริมาณ 2 กก.ต่อครั้ง 4) อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ จำนวนสมาชิก และภูมิลำเนา มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคชมพู่ทับทิมจันทร์ 5) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อของนักท่องเที่ยวคือ การแนะนำของผู้ขาย การประชาสัมพันธ์แนะนำผ่านป้ายโฆษณาตามสถานที่ท่องเที่ยว ความสด-ใหม่ สะอาดของชมพู่ทับทิมจันทร์ มีป้ายแสดงราคาชัดเจน และจำหน่ายอยู่ในแหล่งท่องเที่ยว 6) ควรเสนอแนะเกษตรกรเรื่องคุณภาพของชมพู่ทับทิมจันทร์ โดยผลิตให้ผ่านมาตรฐาน GAPการจัดรูปแบบบรรจุภัณฑ์ให้น่าสนใจ และการเพิ่มที่จำหน่ายให้มากขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.162-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectชมพู่ทับทิมจันทร์th_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคth_TH
dc.titleพฤติกรรมการบริโภคชมพู่ทับทิมจันทร์ของนักท่องเที่ยวชาวไทยในเขตจังหวัดราชบุรีth_TH
dc.title.alternativeThe behavior of Thai tourists in consuming Tap Tim Chan Rose Apples in Ratchaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2014.162-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the general characteristics of Thai tourists in Ratchaburi Province; (2) to study their perceptions of the image of Tap Tim Chan Rose Apples; (3) to measure their Tap Tim Chan Rose Apple consumption behavior and satisfaction; (4) to study relationships between demographic factors and the tourists’ image of and consumption of Tap Tim Chan Rose Apples; (5) to discover the factors that affected tourists’ decisions to purchase Tap Tim Chan Rose Apples; and (6) to form recommendations for rose apple growers and retailers in order to increase sales. This was a survey research. Population were Thai tourists to Ratchaburi. Data were collected using questionaires from a sample of 340 tourists who bought Tap Tim Chan Rose Apples in Ratchaburi Province, chosen by chance. Data were statistically analyzed to find frequency, mean, percentage, standard deviation and chi square. The results showed that (1) The majority of tourists were female, in the 26-35 age group, married, educated to the bachelor’s degree level or higher, independently employed, and made income in the range of 20,001-30,000 baht a month. The majority had an average of 3-4 household members and lived in the greater Bangkok area or a suburb. (2) The Tap Tim Chan cultivar of rose apple had a good image in the view of most tourists. The survey showed that 87.40% of the samples were familiar with the cultivar and 88.20 % had eaten it before. (3) The majority of tourists said they made the decision to buy themselves by considering products freshness and color. The fresheners and color of Tab Tim Chan Rose Apples and bought on average 2 kg of rose apples at a time. (4) The factors of age, marital status, educational level, profession, number of household members and place of habitation were related to Tap Tim Chan Rose Apple consumption behavior. (5) The factors that tourists said affected their decision to buy, in order of importance, were: recommendations from the seller, advertisement signs at tourist destinations, freshness and cleanliness of the fruit, clearly marked prices, and availability for sale at tourist destinations. (6) Rose apple growers are recommended to pay attention to fruit quality by applying GAP standard, develop attractive packaging, and increase points of sale.en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
146083.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.5 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons