Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3050
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมพล จตุพร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorผกามาศ คุ่มเคี่ยม, 2534--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-02-03T08:39:16Z-
dc.date.available2023-02-03T08:39:16Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3050-
dc.description.abstractงานวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพทั่วไปเกี่ยวกับการผลิตมังคุด และ 2) วิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการผลิตมังคุดของเกษตรกรในจังหวัดพัทลุง การศึกษาเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเกษตรกรผู้ผลิตมังคุด จำนวน 363 ราย ด้วยวิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ยร้อยละ ค่าต่ำสุด - สูงสุด ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการถดถอยพหุคูณด้วยวิธีลดรูปตัวแปร โดยพิจารณาแนวคิดฟังก์ชันการผลิต ผลการศึกษา พบว่า 1) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 57.02 ได้รับการศึกษาชั้นประถมศึกษามากที่สุด ร้อยละ 58.13 อายุเฉลี่ย 59.83 ปี มีจำนวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 3.41 คน มีรายได้และรายจ่ายของครัวเรือนเฉลี่ย 150,465 และ 119,499 บาทต่อปี ตามลำดับ พื้นที่ถือครองของครัวเรือนเฉลี่ย 12.40 ไร่ มีสัดส่วนภาระหนี้สินต่อกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด ร้อยละ 50.69 เกษตรกรส่วนใหญ่ไม่ได้รับการฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการผลิตมังคุด ร้อยละ 52.89 ได้รับข้อมูลข่าวสารการผลิตมังคุดจากเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรมากที่สุด ร้อยละ 42.42 เป็นสมาชิกกลุ่มทางการเกษตร ร้อยละ 77.69 เกษตรกรมีประสบการณ์การผลิตเฉลี่ย 16.74 ปี มีขนาดพื้นที่ในการผลิตมังคุดเฉลี่ย 1.83 ไร่ ปริมาณผลผลิตเฉลี่ย 184.26 กิโลกรัมต่อไร่ ใช้แรงงานในครัวเรือนและแรงงานจ้างเฉลี่ยเท่ากับ 1.75 และ 1.15 คน ตามลำดับ มีรายได้ทั้งหมดจากการจําหน่ายผลผลิตเฉลี่ย 13,038 บาทต่อปี ต้นทุนจากการผลิตเฉลี่ย 1,499.45 บาทต่อไร่ต่อปี ใช้ปริมาณปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยเคมีเฉลียต่อไร่เท่ากับ 338.26 และ 55.68 กิโลกรัม ตามลำดับ ทำสวนมังคุดในลักษณะส่วนผสมร้อยละ 96.69 ใช้เงินทุนตนเองในการผลิต ร้อยละ 99.17 จำหน่ายผลผลิตในรูปแบบมีคนมารับซื้อร้อยละ 71.63 และเกษตรกรยังไม่ได้รับใบรับรองมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (จีเอพี)ร้อยละ 86.23 และ 2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการผลิตมังคุดของเกษตรกรในจังหวัดพัทลุง ได้แก่ เพศของเกษตรกร การได้รับการฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการผลิตมังคุด ขนาดพื้นที่ในการผลิตมังคุดและรายได้ทั้งหมดจากการจําหน่ายผลผลิตth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมังคุด--การผลิต--ไทย--พัทลุงth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตมังคุดของเกษตรกรในจังหวัดพัทลุงth_TH
dc.title.alternativeFactors influencing mangosteen production of farmers in Phatthalung Provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were 1) to study the primary conditions for mangosteen production and 2) to analyze factors influencing mangosteen production of fanners in Phatthalung province. The study was conducted by collecting the data from 363 samples of fanners who produce mangosteen by using the accidental sampling methods, utilizing questionnaires as a tool for collecting the data, and analyzing them by descriptive and inferential statistics, i.e.. mean, percentage, minimum - maximum value, standard deviation, and multiple regression with variable reduction method. The results showed that 1) most of fanners were female, 57.02 per cent: educated in primary school. 58.13 per cent: had an average age of 59.83 year's; possessed an average family member of 3.41 people: expressed, respectively, an average household income and an expenditure of 150,465 baht and 119,499 baht per year; owned an average household area of 12.40 rai; had the debt ratio regarding sampling group of 50.69 per cent; were not trained for mangosteen production practices, 52.89 per cent: received information relating to mangosteen production from the agricultural supporting officers, 42.42 per cent; were a member of the agricultural group, 77.69 per cent: had the average 16.74 years of experience in growing mangosteen: own the average 1.83 rais for producing mangosteen: had the average output of 184.26 kilogram per rai; employed an average internal and external household labor force of 1.75 people and 1.15 people, respectively: gained an average revenue from selling the outputs of 13.038 baht per year; inclined an average cost of production of 1.499.45 baht per rai per year; used the organic and chemical fertilizers on average 338.26 and 55.68 kilogram per rai. respectively; managed mangosteen by the Integrated fanning system. 96.69 per cent; invested their own fund in production. 99.17%; sold outputs through intermediator, 71.63 per cent; and did not acquire the good agricultural practice (GAP), 86.23 per cent; and 2) the factors influencing mangosteen production were gender of the fanners, the mangosteen related production training, the size of mangosteen production area, and the total revenue from selling the outputsen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.28 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons