Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3076
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorส่งเสริม หอมกลิ่น, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเมษิยา ทรงอารมภ์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-02-06T03:01:30Z-
dc.date.available2023-02-06T03:01:30Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3076-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา1) สภาพทั่วไปและผลการดำเนินงานของ สหกรณ์บริการในเขตประเวศ กรุงเทพมหานคร 2) ประเมินคุณภาพการบริหารจัดการสหกรณ์ด้านควบคุมภายใน ของสหกรณ์บริการในเขตประเวศ กรุงเทพมหานคร 3) เปรียบเทียบผลการประเมินการบริหารจัดการสหกรณ์ด้าน ควบคุมภายในกับผลการดำเนินงานของสหกรณ์บริการในเขตประเวศ กรุงเทพมหานคร 4) ศึกษาแนวทางการนำ ผลการประเมินการบริหารจัดการสหกรณ์ด้านควบคุมภายในไปปรับใช้ในการดำเนินงานของสหกรณ์บริการใน เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร ประชากรที่ใช้ศึกษา คือ สหกรณ์บริการในเขตประเวศ ที่มีการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องจำนวน 4 สหกรณ์ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ 1) แบบประเมินการบริหารจัดการสหกรณ์ด้านการควบคุมภายใน ของ กรมส่งเสริมสหกรณ์ 2) แบบเก็บข้อมูลทางการเงินเพื่อวิเคราะห์ประสิทธิภาพในการดำเนินงานของสหกรณ์ 3) แบบสัมภาษณ์เชิงลึก สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าสัดส่วน และการวิเคราะห์เนื้อหา เพื่อสรุปแนวทางการนำผลการประเมินการบริหารจัดการสหกรณ์ด้านควบคุมภายในไปปรับใช้ในการดำเนินงาน ของสหกรณ์ ผลการศึกษาพบว่า 1) สหกรณ์บริการในเขตประเวศกรุงเทพมหานครมีระยะเวลาการดำเนินงาน 5 - 11 ปี จำนวนสมาชิก 49-276 คน คณะกรรมการ 7 - 13 คน เจ้าหน้าที่สหกรณ์ 1 คน ส่วนใหญ่มีทุนดำเนินงาน เพิ่มขึ้น ดำเนินธุรกิจด้านเคหสถาน และ บริการแท็กซี่ 2) คุณภาพการบริหารจัดการสหกรณ์ด้านการควบคุม ภายใน 12 ด้าน ผลการประเมินอยูในระดับดี 1 สหกรณ์ และต้องแก้ไข 3 สหกรณ์ สัดส่วนของการปฏิบัติ ณ จุด ควบคุมน้อยที่สุด ทั้ง 4 สหกรณ์คือ การจัดทำงบดุล รองลงไป คือ ด้านอื่น ๆ จำนวน 3 สหกรณ์ 3) สหกรณ์ที่มี คุณภาพการบริหารจัดการสหกรณ์ด้านควบคุมภายในระดับดีค่าเฉลี่ยอัตรากำไรสุทธิ และ อัตราผลตอบแทนต่อ ส่วนของผู้ถือหุ้น สูงกว่า สหกรณ์ที่มีคุณภาพการควบคุมภายในระดับต้องแก้ไขค่อนข้างมาก แต่ค่าเฉลี่ยอัตรา ผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ใกล้เคียงกัน 4) แนวทางในการนำผลการประเมินการบริหารจัดการสหกรณ์ด้านควบคุม ภายใน คือ คณะกรรมการประชุมร่วมเพื่อกำหนดแนวทางและมีการติดตามแผน แต่งตั้งคณะกรรมการให้ทำ หน้าที่การเงิน การบัญชี และสหกรณ์ควรจัดทำแผน นำแผนไปปฏิบัติ และติดตามผลเป็นระยะth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์th_TH
dc.subjectสหกรณ์บริการth_TH
dc.subjectการควบคุมภายในth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สหกรณ์th_TH
dc.titleการประเมินการบริหารจัดการสหกรณ์ด้านควบคุมภายในของสหกรณ์บริการในเขตประเวศ กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeAssessing cooperatives management on service cooperatives’ internal control in Prawet District, Bangkok Metropolisth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this independent study were to 1) study general circumstance and performance results of service cooperatives 2) assess cooperatives management quality on services cooperatives’ internal control 3) compare assessment results of cooperatives management on internal control with performance results of service cooperatives and 4) explore guidelines to apply assessment results of cooperatives management on internal control with service cooperatives’ operation in Prawet District, Bangkok Metropolis. Studied population comprised cooperatives administrators from 4 service cooperatives in Prawet District that run business continuously. Tools were; 1) Cooperative Promotion Department’s assessment form for cooperatives management on internal control 2) cooperatives’ financial data collection form and 3) depth interview. Statistics used for data analysis included frequency, mean, value of ratio and contents analysis. Findings were the following. 1) Operation period of service cooperatives in Prawet District was between 5-11 years with 49-276 members and 7-13 committee members including 1 staff. Capital of most service cooperatives increased. They ran housing and taxi business. 2) With regard to cooperatives management quality on 12 aspects of internal control, only one cooperative was assessed at high level while the plan and participation were three cooperatives needed improvement. Ratio of operation of all four cooperatives, at the least controlled point was balance sheet, next was other aspects for the rest three cooperatives. 3) The cooperatives rated with high level management quality on internal control appeared to gain higher net profit margin and return on equity ratio than those cooperatives that needed improvement for their internal control. However, mean of return on asset ratio was almost the same. 4) Guidelines to apply assessment results of cooperatives management on internal control with service cooperatives’ operation; in order to set guidelines and follow up a plan, committee meetings should be organized and assign committee members to take charge of finance, and accounting. Also a plan should be developed for further implementation and follow up periodicallyen_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
156350.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.57 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons