Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/313
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรัญญา ปุณณวัฒน์ | th_TH |
dc.contributor.author | ธรรมวัตร์ อัศวรัตน์, 2534- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-08T04:47:03Z | - |
dc.date.available | 2022-08-08T04:47:03Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/313 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ออกแบบและสร้างฐานความรู้สำหรับการบริการให้ความช่วยเหลือทางด้านไอทีด้วยเทคโนโลยีออนโทโลยี (2) พัฒนาโปรแกรมประยุกต์สำหรับการบริการให้ความช่วยเหลือด้านไอทีด้วยเทคโนโลยีออนโทโลยี และ (3) ทดสอบประสิทธิภาพการทำงานของโปรแกรมประยุกต์ สำหรับการบริการให้ความช่วยเหลือด้านไอทีด้วยเทคโนโลยีออนโทโลยีวิธีการดำเนินการวิจัย ประกอบด้วย (1) การศึกษาลักษณะงานของการสนับสนุนเทคโนโลยีสารสนเทศ ในสถานศึกษา (2) การรวบรวมปัญหาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในสถานศึกษา การวิจัยครั้งนี้เลือกมหาวิทยาลัยราชพฤกษ์เป็นกรณีศึกษา โดยรวบรวมข้อมูลคำถามและคำตอบด้านปัญหาการใช้ไอทีจากการสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ไอทีและจากการศึกษาบันทึกการแก้ไขปัญหาของหน่วยงานตั้งแต่ พ.ศ. 2556-2560 จากนั้นนำปัญหาดังกล่าวให้ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 ท่านตรวจสอบความถูกต้อง (3) การออกแบบและสร้างฐานความรู้ด้านการบริการให้ความช่วยเหลือด้านไอทีด้วยเทคโนโลยีออนโทโลยีโดยใช้โปรแกรม Protégé (4) การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์สำหรับการบริการให้ความช่วยเหลือทางด้านไอที และ (5) การประเมินประสิทธิภาพของโปรแกรมประยุกต์ฯ โดยประเมินจากค่าความแม่นยำ และค่าความระลึกจากตัวอย่างปัญหาที่กำหนดส่วนการประเมินความพึงพอใจการใช้โปรแกรมประยุกต์ฯ จากเจ้าหน้าที่ไอทีจำนวน 7 คน โดยใช้แบบสอบถาม ผลการวิจัยพบว่า (1) บันทึกการแก้ไขปัญหาของหน่วยงาน จำนวน 1,925 ชุด สามารถแบ่งได้เป็น 21 ปัญหา และจัดกลุ่มแนวทางการแก้ไขปัญหาได้เป็น 3 ด้าน คือ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และเครือข่าย (2) โปรแกรมประยุกต์บนสมาร์ตโฟนที่พัฒนาเป็นขึ้นมำนั้น จะมีหน้าจอให้ผู้ใช้ระบุปัญหาทางด้านไอทีเพื่อสืบค้น แสดงผลเป็นความถี่ของการเกิดปัญหา และแนวทางแก้ไขปัญหาทั้ง 3 ด้าน และ (3) การประเมินประสิทธิภาพการทำงานของโปรแกรมประยุกต์ฯ พบว่า มีค่าความแม่นยำ 96.82% และค่าความระลึก 100% สำหรับการประเมินความพึงพอใจในการใช้โปรแกรมประยุกต์ฯ มีค่าเฉลี่ย 4.29 โดยประเด็นที่มีคะแนนในการประเมินความพึงพอใจสูงสุด คือ การนำโปรแกรมประยุกต์ไปใช้ในการแก้ปัญหาได้จริง มีค่าเฉลี่ย 4.43 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | โปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่ | th_TH |
dc.subject | โปรแกรมประยุกต์ | th_TH |
dc.subject | ออนโทโลยี (การค้นคืนสารสนเทศ) | th_TH |
dc.title | โปรแกรมประยุกต์สำหรับการบริการให้ความช่วยเหลือทางด้านไอทีด้วยเทคโนโลยีออนโทโลยี | th_TH |
dc.title.alternative | Application for IT helpdesk service with ontology technology | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to design and create knowledge base for IT helpdesk service with ontology technology; (2) to develop an application for IT helpdesk service with ontology technology; and (3) to evaluate the system performance of the application for IT helpdesk service with ontology technology. Research methods consisted of (1) studying the tasks of IT support in academic institute; (2) collecting the IT problems in an academic institute. Rajapruek University was selected as a case study. The questions and answers for solving IT problems were collected by interviewing IT staff and reviewing the IT service’s problem solving document of the IT department from year 2013 to 2017. Later, the problems was qualified by three experts; (3) designing and creating knowledge base using Protégé; (4) developing an application for IT helpdesk service with ontology technology; and (5) evaluating the system performance of the application using precision and recall values from the sample problems. The user satisfaction was evaluated by seven IT staff using the questionnaire. The results showed that (1) IT service’s problem were 1,925 data sets, were divided into 21 problems and were grouped into three areas: hardware, software and network; (2) the application provided an input screen for search term about IT problem. The search results were the frequency of IT problem occurrence and the guideline for IT problem solving in three areas; and (3) the system performance of the application gained the precision value 96.82% and the recall value 100%. The average of user satisfaction for the application was 4.29. The highest score from user satisfaction was “It is able to solve the IT problems in the real situation.” at 4.43 | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ชูชาติ หฤไชยะศักดิ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Science Tech - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_157787.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 7.62 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License