Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/316
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorขจิตพรรณ กฤตพลวิมานth_TH
dc.contributor.authorธีรเดช ชาญชัยวุฒิไกร, 2519-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-08T05:36:11Z-
dc.date.available2022-08-08T05:36:11Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/316en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างต้นแบบโปรแกรมประยุกต์การจัดการฝึกปฏิบัติทางไกลผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เคลื่อนที่ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ 2) ประเมินความเหมาะสมของต้นแบบโปรแกรม และประสิทธิภาพในการกระตุ้นการเรียนรู้ผานเอ็มเลิร์นนิง โดยใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์เป็นสื่อกลางในการสอนหรือสาธิตวิธีดําเนินการวิจัย ผู้วิจัยได้ออกแบบและพัฒนาโปรแกรมประยุกต์การจัดการฝึกปฏิบัติทางไกลผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เคลื่อนที่ ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ รวมทั้งระบบการประชาสัมพันธ์ข่าวสาร การสนทนา การแจ้งเตือนข้อความ และระบบจัดการเนื้อหาการสอนบนเว็บเซอร์วิส เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่1) เครื่องคอมพิวเตอร์ เว็บโฮสติ้ง และซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการพัฒนาระบบได้แก่ โปรแกรมอิคลิป โปรแกรมแมโครมีเดียดรีมวีฟเวอร์ ภาษาที่ใช้พัฒนา คือ พีเอชพี และจาวา 2) แบบประเมินประสิทธิภาพการใช้งานของผู้ใช้งาน โดยให้กลุ่มตัวอย่างทดลองใช้งานและประเมินผล จากนั้นนําข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์การทํางานของโมดูลย่อยต่างๆ ด้วยวิธีการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบวาระบบตัวต้นแบบที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมในการแก้ไขปัญหาความไม่เพียงพอของอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ใช้สอนในการฝึกปฏิบัติทางไกลซึ่ งมีราคามูลค่าสูง ทั้งยังมีรูปแบบน่าสนใจและใช้งานสะดวก และยังมีส่วนช่วยกระตุ้นผู้เรียนให้เกิดความสนใจในการเรียนรู้มากยิ่งขึ้น โดยมีผลการประเมินในทุกด้านอยู่ในเกณฑ์ดีซึ่งมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 4.27 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.37th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.37en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการศึกษาทางไกล--การสอนด้วยสื่อth_TH
dc.subjectแอนดรอยด์ (ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์)th_TH
dc.subjectโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่th_TH
dc.subjectระบบสื่อสารเคลื่อนที่ในการศึกษาth_TH
dc.titleต้นแบบโปรแกรมประยุกต์การจัดการฝึกปฏิบัติทางไกลผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เคลื่อนที่ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์th_TH
dc.title.alternativeApplication prototype for remote laboratory practice management via Android mobile electronic devicesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2016.37en_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were 1) to build the application prototype for remote laboratory practice management via android mobile electronic devices 2) to evaluate the suitability of this prototype platform as the motivation tool for mlearning. Laboratory procedures and equipment could be demonstrated via this platform using android mobile electronic devices. Research methodology was that the researcher designed and developed the prototype of remote laboratory platform on android mobile electronic devices and other services such as news, chat, message, alert, and content management systems using web services. The research tools included 1) a computer, web hosting, and system development software including other application software i.e. Eclipse, Macromedia Dreamweaver, PHP and Java and 2) evaluation form for the efficiency of users’ usability. Responses from user samples who tested and evaluated each platform module were analyzed using mean and standard deviation in order to evaluate platform’s functionality. The results of this research showed that the developed prototype was suitable as the solution for lack of remote laboratory equipment or equipment installation cost. Furthermore, this prototype platform was interesting, user-friendly, and was able to motivate learners to concentrate on laboratory lessons as presented in users’ satisfactory survey. The efficiency of users’ usability results were in a good level in which the mean value was 4.27 and the standard deviation value was 0.37en_US
dc.contributor.coadvisorวิภา เจริญภัณฑารักษ์th_TH
Appears in Collections:Science Tech - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_155162.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.75 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons