Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3190
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัจฉรา โพธิ์ดี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorภวัต เจียมจิณณวัตร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสมรักษ์ สื่อสกุล, 2536--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-02-14T03:07:35Z-
dc.date.available2023-02-14T03:07:35Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3190-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ข้อมูลพื้นฐานของวิสาหกิจชุมชน 2) การดำเนินธุรกิจและปัญหาในการดำเนินธุรกิจ 3) ความพึงพอใจของผู้บริโภคต่อสินค้าและบริการ และ 4) แนวทางการพัฒนาธุรกิจของวิสาหกิจชุมชนสมุนไพรเกษตรอินทรีย์บ้านดงบัง การดำเนินการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ 1) การวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากร คือ คณะกรรมการวิสาหกิจชุมชนและสมาชิก จำนวน 17 คน และผู้ที่เกี่ยวข้องกับวิสาหกิจชุมชน รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ ทำการสัมภาษณ์สมาชิกทุกคน และจัดสนทนากลุ่มตัวแทนสมาชิกและผู้ที่เกี่ยวข้องจำนวน 10 คน โดยการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง 2) การวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร คือ ผู้ที่เข้ามาซื้อสินค้าและบริการ ณ วิสาหกิจชุมชน ประมาณการเฉลี่ยเดือนละ 300 คน กำหนดขนาดตัวอย่างที่ร้อยละ 30 ของจำนวนประชากร ได้ขนาดตัวอย่าง 90 คน รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหาและการวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมทางธุรกิจ ข้อมูลเชิงปริมาณวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า 1) วิสาหกิจชุมชนสมุนไพรเกษตรอินทรีย์บ้านดงบังมีสมาชิกจำนวน 17 คน อายุเฉลี่ย 53.35 ปี ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จบการศึกษาระดับประถมศึกษา มีพื้นที่ปลูกสมุนไพรเฉลี่ย 5.47 ไร่ มีรายได้จากวิสาหกิจชุมชนเฉลี่ย 14,714.29 บาทต่อเดือน โครงสร้างองค์การของวิสาหกิจชุมชนแบ่งเป็น 4 ฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายวางแผนและการผลิต ฝ่ายการตลาด ฝ่ายขยายการเพาะปลูก และฝ่ายประชาสัมพันธ์ 2) ธุรกิจของวิสาหกิจชุมชนประกอบด้วย ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย ธุรกิจรวบรวมผลิตผล ธุรกิจแปรรูปผลิตผล และธุรกิจบริการ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 ทำให้การเติบโตของธุรกิจโดยรวมชะลอตัวลง ยกเว้นธุรกิจแปรรูป โดยมุ่งเน้นผลิตภัณฑ์ชาชงสมุนไพรเป็นหลัก 3) ผู้บริโภคมีความพึงพอใจต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาดของผลิตภัณฑ์ชาชงสมุนไพรด้านผลิตภัณฑ์และราคาโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนความพึงพอใจด้านการจัดจำหน่ายและด้านการส่งเสริมการตลาดโดยรวมอยู่ในระดับมาก 4) แนวทางการพัฒนาธุรกิจของวิสาหกิจชุมชน กลยุทธ์ระดับองค์การ ควรใช้กลยุทธ์เติบโตในธุรกิจผลิตภัณฑ์ชาชงสมุนไพร โดยมุ่งเน้นการเพิ่มยอดขายและส่วนครองตลาดของผลิตภัณฑ์เดิม กลยุทธ์ระดับหน่วยธุรกิจ ควรใช้กลยุทธ์การแข่งขัน เพื่อมุ่งสร้างความได้เปรียบให้กับสินค้า กลยุทธ์ระดับหน้าที่ ควรเน้นการสร้างจุดเด่นของวัตถุดิบและบรรจุภัณฑ์ การขอรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ นอกจากนี้ควรอบรมให้ความรู้แก่สมาชิกทั้งเก่าและใหม่ในด้านกระบวนการผลิต เพื่อให้ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพสม่ำเสมอth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectวิสาหกิจชุมชนสมุนไพรเกษตรอินทรีย์บ้านดงบัง--การจัดการth_TH
dc.titleการพัฒนาธุรกิจของวิสาหกิจชุมชนสมุนไพรเกษตรอินทรีย์บ้านดงบัง ตำบลดงขี้เหล็ก อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรีth_TH
dc.title.alternativeBusiness development for Ban Dong Bang Community Enterprise of Organic Herbs in Dong Khi Lek Sub-district, Mueang Prachin Buri District, Prachin Buri Provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการทรัพยากรเกษตร)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) the basic information of the community enterprise, 2) the business operations and business problems, 3) consumers’ satisfaction with products and services, and 4) guidelines for business development for Ban Dong Bang Community Enterprise of Organic Herbs. This research was qualitative and quantitative research. 1) Qualitative research: the study population was 17 persons of committee and members as well as the related persons. The data were collected from all committee and members using the interview form. A focus group discussion was done with 10 related persons selected by purposive sampling. 2) Quantitative research: the study population was the persons who came to buy goods and services at the community enterprise with an average monthly estimated of 300 persons. The sample size was determined at 30 percent of the population that was 90 samples. The data were collected by using questionnaires. Qualitative data were analyzed using content analysis and business environment analysis while quantitative data were analyzed using descriptive statistics. The results showed that 1) Ban Dong Bang Community Enterprise of Organic Herbs had 17 members, an average age of 53.35 years, mainly female, graduating from elementary school, and an average herb growing area of 5.47 rai. Their average income from the community enterprise was 14,714.29 baht per month. The organization structure of the community enterprise consisted of 4 departments; namely, planning and production, marketing, cultivation expansion, and public relations. 2) The community enterprise businesses consisted of trading business, compilation of product business, processing business, and service business. As a result of the Covid-19 pandemic, overall business growth was slowed down, except for the processing business, focusing mainly on herbal tea product. 3) The consumers’ marketing mix satisfaction of herbal tea product for product and price factors were rated at the highest level, while place and promotion factors were at a high level. 4) Guidelines for business development of the community enterprise, for corporate level strategy should use the growth strategy in herbal tea product business and focus on increasing sales and market share of existing product. Business level strategy should use competitive advantage strategy to create an advantage for the product. Functional level strategy should focus on the prominent of raw material and packaging as well as product certification requesting. In addition, training in production process should be conducted to both new and existing members in order to ensure consistent quality producten_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.71 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons