Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/320
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เปรมฤทัย น้อยหมื่นไวย, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | กุญชร เจือตี๋, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | นันธิยา ไทยเจริญ, 2520 | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-08T07:12:02Z | - |
dc.date.available | 2022-08-08T07:12:02Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/320 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความตั้งใจลาออกและโอนย้ายของพยาบาลวิชาชีพ 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลที่คัดสรร ผลประโยชน์ตอบแทน กับความตั้งใจลาออกและโอนย้ายของพยาบาลวิชาชีพ และ 3) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจลาออก และโอนย้ายของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กลุ่มตัวอย่าง เป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 130 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคล ส่วนที่ 2 ผลประโยชน์ตอบแทน และส่วนที่ 3 ความตั้งใจลาออกและโอนย้าย ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 ท่าน ได้ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาของแบบสอบถาม ส่วนที่ 2 และส่วนที่ 3 เท่ากับ 0.93 และ 0.94 ตามลำดับ คำนวณค่าความสอดคล้องภายในได้ค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อมันของครอนบาคของแบบสอบถาม ส่วนที่ 2 และส่วนที่ 3 เท่ากับ 0.92 และ 0.87 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย สถิติส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และสถิติการถดถอย พหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรเป็นขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) ความตั้งใจลาออกและโอนย้ายโดยรวมของพยาบาลวิชาชีพ อยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.67 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.85) 2) ระดับการศึกษาและ ผลประโยชน์ตอบแทน มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจลาออกและโอนย้าย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ .05 ตามลำดับ (r= .23, p<.01 ; r= -.23, p<.05) 3) ระดับการศึกษาและผลประโยชน์ตอบแทน สามารถร่วมทำนายความตั้งใจลาออกและโอนย้ายของพยาบาลวิชาชีพ ได้ร้อยละ 9.2 (R2=.092, p<.05) | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.211 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | พยาบาลวิชาชีพ--การลาออก | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจลาออกและโอนย้ายของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | th_TH |
dc.title.alternative | Factors influencing turnover intention of registered nurses at a tertiary hospital in Northeast Thailan | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2014.211 | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this descriptive research were: 1) to study turnover intention of registered nurses, 2) to study the relationships between personal factors, benefits, and turnover intention of registered nurses,and 3) to study predictive factors influencing turnover intention of registered nurses at a tertiary hospital in Northeast Thailand. The sample of this study included 130 registered nurses who worked at the tertiary hospital were selected by stratified random sampling. Questionnaires were used as research tools which included 3 parts: 1) general personal data, 2) benefits, and 3) turnover intention. Questionnaires were reviewed and approved by 5 scholars, and the content validity indexes (CVI) of the second and third part were 0. 93 and 0.94 respectively. Cronbach’s alpha reliability coefficients were 0.92 and 0.87 respectively for the part of benefits and the turnover intention. Research data were analyzed by descriptive statistics (percentage, mean, and standard deviation), Pearson correlation, and Stepwise multiple regression analysis. The results of this study were as follows. 1) Registered nurses rated their turnover intention at the moderate level (M =2.67, SD=0.85). 2) The education level and benefits associated with turnover intention (r = .23, p < .01; r =-.23, p< .05). 3) The education level and benefits could predict turnover intention of registered nurses. The predictors accounted for 9.2 % (R2=.092, p<.05) | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 14.92 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License