Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/322
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorขจิตพรรณ กฤตพลวิมานth_TH
dc.contributor.authorวรเวธน์ ศรีสุขา, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-08T07:56:18Z-
dc.date.available2022-08-08T07:56:18Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/322en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาและสร้างฐานความรู้ออนโทโลยี การบริหารราชการด้านทรัพยากรบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (2) เพื่อสร้างระบบสืบค้นองค์ความรู้การบริหารราชการด้านทรัพยากรบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยใช้ฐานความรู้ออนโทโลยีในการกาหนดความสัมพันธ์ (3) เพื่อประเมินประสิทธิภาพและความถูกต้องระบบสืบค้นองค์ความรู้การบริหารราชการด้านทรัพยากรบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระเบียบวิจัยดำเนินการโดยใช้โปรแกรมโฮโซออนโทโลยีเอดิเตอร์สร้างฐานความรู้ออนโทโลยีการบริหารราชการด้านทรัพยากรบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จากนั้นนำเอาออนโทโลยีที่ได้มาพัฒนาระบบสืบค้นด้วยซอฟต์แวร์แพล็ตฟอร์มสำหรับจัดการโปรแกรมประยุกต์ออนโทโลยี ร่วมกับโปรแกรมจัดการ ฐานข้อมูลมายเอสคิวแอล และภาษาพีเอชพี และมีการประเมินประสิทธิภาพระบบดำเนินการโดยวิเคราะห์หาค่าความแม่นยำ ค่าความระลึกและค่าประสิทธิภาพโดยรวมจากตัวอยางข้อมูลองค์ความรู้ จำนวน 168 รายการ ได้ทำการทดสอบการสืบค้น จำนวน 359 รายการ นอกจากนี้มีการประเมินความพึงพอใจผู้ใช้งานจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ใช้งานสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจากข้าราชการ พนักงานและเจ้าหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลลำไทร จำนวน 15 คน และประชาชนทั่วไป จำนวน 15 คน รวมจำนวน 30 คน ผลการวิจัยสร้างระบบสืบค้นองค์ความรู้พบว่าออนโทโลยีประกอบด้วยจำนวนคลาสทั้งหมด 68 คลาส คลาสหลักจำนวน 5 คลาส ได้แก่ คลาสองค์ความรู้ด้านทรัพยากรบุคคล คลาสหน่วยงาน คลาสประเภทบุคลากร คลาสหมวดหมู่และคลาสตำแหน่งจากการประเมินประสิทธิภาพระบบสืบค้นพบว่าค่าประสิทธิภาพโดยรวมมีค่าเท่ากับ 95.26% ซึ่งอธิบายได้ว่าการนำออนโทโลยีมาประยุกต์ใช้กับระบบสืบค้นองค์ความรู้การบริหารราชการด้านทรัพยากรบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทำให้การสืบค้นองค์ความรู้มีความแม่นยำและมีประสิทธิภาพมากขึ้นและผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งาน โดยรวมมีค่าเฉลี่ย (𝑥̅ = 4.44) และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. = 0.32) ความพึงพอใจแยกเป็นรายด้านดังนี้ ด้านการใช้งานระบบ (𝑥̅ = 4.53 S.D. = 0.31) ด้านการสืบค้นจากออนโทโลยี (𝑥̅ = 4.4 S.D. = 0.3) ด้านการออกแบบระบบ (𝑥̅ = 4.42 S.D. = 0.33) และด้านข้อมูลของระบบ (𝑥̅ = 4.41 S.D. = 0.35)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2018.20th_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น--การบริหารงานบุคคลth_TH
dc.subjectออนโทโลยี (การค้นคืนสารสนเทศ)th_TH
dc.titleการประยุกต์ใช้ออนโทโลยีสำหรับระบบสืบค้นองค์ความรู้การบริหารราชการด้านทรัพยากรบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นth_TH
dc.title.alternativeApplication of ontology technology for knowledge searching system of human resource management for Local Administration Organizationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2018.20-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2018.20en_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposesof this research were (1) to study and create knowledge basedontology for human resource management for local administration organization (2 ) to create knowledge searching system of human resource management for local administration organization by using knowledge based ontology in determining relationships ( 3 ) to evaluate performances and accuracy of knowledge searching system of human resource management for local administration organization. Research methodology was carried out by applying Hozo editor program for generating knowledge based ontology for human resource management for local administration organization. Then the generated ontology was used to develop searching systems using the Ontology Application Management (OAM) Framework, MySQL database management program, and PHP programming language. The system performance was evaluated by analyzing efficiency values of precision, recall, and F-measure from 168 knowledge data samples with 359 test queries. In addition, there was users' satisfaction analysis from 30 user samples: 15 government officials, employees, and staffs of Lam Sai Sub-district administration organization and 15 general users. The research results showed that the knowledge searching system consisted of 68 classes. There were 5 main classes which contained human resource’s knowledge class, organization class, personnel class, category class, and position class. Evaluation performance of the searching system showed that the F-measure efficiency was equal to 95.26% representing that applying ontology on knowledge searching system of administration human resource management for local administration organization made the knowledge searching become more precise and efficient. The overall results of user satisfaction were presented by the average (𝑥̅̅= 4.44) and the standard deviation values (S.D. = 0.32). The user satisfaction was divided into four following aspects: system usage (𝑥̅̅= 4.53 S.D. = 0.31), ontology searching (𝑥̅̅= 4.4 S.D. = 0.3), system design (𝑥̅̅= 4.42 S.D. = 0.33 ), and system information (𝑥̅̅= 4.41 S.D. = 0.35).en_US
dc.contributor.coadvisorสันติพัฒน์ อรุณธารีth_TH
Appears in Collections:Science Tech - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_161787.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.86 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons