Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3274
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เก็จกนก เอื้อวงศ์ | th_TH |
dc.contributor.author | ณัฐพงษ์ จันปุ่ม, 2519- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-02-16T02:08:37Z | - |
dc.date.available | 2023-02-16T02:08:37Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3274 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาบรรยากาศองค์การในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษามุกดาหาร (2) ศึกษาการบริหารจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษามุกดาหาร และ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศองค์การในสถานศึกษากับการบริหารจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษามุกดาหาร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษามุกดาหาร ปีการศึกษา 2564 จำนวน 265 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเคร็จและมอร์แกน จากนั้นใช้การสุ่มแบบแบ่งชั้นตามขนาดของสถานศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่าเกี่ยวกับบรรยากาศองค์การในสถานศึกษาและการบริหารจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษา ซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .96 และ .85 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) บรรยากาศองค์การในสถานศึกษา ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) พฤติกรรมการบริหารจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศองค์การกับการบริหารจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษาในภาพรวมมีความสัมพันธ์กันในทางบวกในระดับค่อนข้างสูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า บรรยากาศองค์การมีความสัมพันธ์ในทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 กับการบริหารจัดการความขัดแย้งแบบร่วมมือ แบบประนีประนอม และแบบยอมให้ในระดับค่อนข้างสูง และมีความสัมพันธ์ในทางบวกกับการบริหารจัดการความขัดแย้งแบบหลีกเลี่ยง และแบบเอาชนะในระดับค่อนข้างต่ำและระดับต่ำ ตามลำดับ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การบริหารความขัดแย้ง--ไทย--มุกดาหาร | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษา | th_TH |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศองค์การกับการบริหารจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษามุกดาหาร | th_TH |
dc.title.alternative | Relationship between organizational climate and conflict management of school administrators under the Secondary Educational Service Area Office Mukdahan | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to study organizational climate in schools under the Secondary Educational Service Area Office Mukdahan; (2) to study conflict management of school administrators under the Secondary Educational Service Area Office Mukdahan; and (3) to study the relationship between organizational climate in schools and conflict management of school administrators under the Secondary Educational Service Area Office Mukdahan. The research sample consisted of 265 teachers in schools under the Secondary Education Service Area Office Mukdahan during the 2021 academic year, obtained by stratified random sampling based on school size. The sample size was determined based on Krejcie and Morgan’s Sample Size Table. The employed research instrument was a rating scale questionnaire on organizational climate in schools and conflict management of school administrators, with reliability coefficients of .96 and .85 respectively. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and Pearson correlation coefficient. The research findings showed that (1) the overall organizational climate in schools was at the high level; (2) the overall conflict management of school administrators was at the high level; and (3) the overall organizational climate in schools and the overall conflict management of school administrators correlated positively at the rather high level which was significant at the .01 level of statistical significance; when the relationships between organizational climate and specific types of conflict management were considered, it was found that the correlations between organizational climate with the collaborating type, compromising type, and accommodating type of conflict management were positive and at the rather high level, all of winch were significant at the .01 level of statistical significance; while the correlations between organizational climate with the avoiding type and the competing type of conflict management were also significant at the .01 level and positive but at the rather low and low levels respectively | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 14.74 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License