Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3277
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโสภนา สุดสมบูรณ์th_TH
dc.contributor.authorเจริญ ราคาแก้ว, 2523-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-02-16T02:17:41Z-
dc.date.available2023-02-16T02:17:41Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3277en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความฉลาดรู้ดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชัยภูมิ 2) เปรียบเทียบความฉลาดรู้ดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา จำแนกตาม เพศ อายุ และประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน และ 3) ศึกษาแนวทางการพัฒนาความฉลาดรู้ดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชัยภูมิ ปีการศึกษา 2564 จำนวน 86 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือในการวิจัย คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับความฉลาดรู้ดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .96 และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การทดสอบรายคู่ด้วยวิธี LSD และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) ความฉลาดดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงตามลำดับ ดังนี้ การเข้าถึงและตระหนักดิจิทัล การใช้งานเครื่องมือด้านดิจิทัลหรือแอปพลิเคชันขั้นต้นสําหรับการทํางาน การประยุกต์ใช้เครื่องมือดิจิทัลเพื่อการทำงาน การผลิตชุดข้อมูลเพื่อการบริการสาธารณะ การใช้โปรแกรมดิจิทัลเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลสำหรับงานประจำ การใช้ข้อมูลระหว่างหน่วยงาน และการใช้ดิจิทัลเพื่อการทํางานร่วมกัน 2) ผลการเปรียบเทียบความฉลาดรู้ดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาพบว่า (1) ผู้บริหารสถานศึกษาที่มีเพศแตกต่างกัน มีความฉลาดดิจิทัล โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน (2) ผู้บริหารสถานศึกษาที่มีอายุแตกต่างกัน มีความฉลาดรู้ดิจิทัล โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเว้นด้านการประยุกต์ใช้เครื่องมือดิจิทัลเพื่อการทำงานไม่แตกต่างกัน โดยผู้บริหารสถานศึกษาที่มีอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 30 ปี มีความฉลาดรู้ดิจิทัลมากกว่าผู้บริหารสถานศึกษาที่มีอายุ 51-60 ปี (3) ผู้บริหารสถานศึกษาที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานแตกต่างกัน มีความฉลาดรู้ดิจิทัล โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยผู้บริหารสถานศึกษาที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน 0-10 ปี มีความฉลาดรู้ดิจิทัลมากกว่าผู้บริหารสถานศึกษาที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน 21-30 ปี และ 31 ปีขึ้นไป และ 3) แนวทางการพัฒนาความฉลาดรู้ดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา ประกอบด้วย (1) ผู้บริหารสถานศึกษาควรพัฒนาตนเองให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีดิจิทัล (2) หน่วยงานต้นสังกัดหรือสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาควรส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้รูปแบบดิจิทัลให้แก่ผู้บริหารสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง และ (3) หน่วยงานของรัฐหรือกระทรวงศึกษาธิการควรพัฒนาการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลให้กับทุกหน่วยงานอย่างครอบคลุมและทั่วถึง รวมถึงพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีและเครือข่ายอินเทอร์เน็ตth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียน--ไทย--ชัยภูมิ--เทคโนโลยีth_TH
dc.subjectการรู้จักใช้เทคโนโลยีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleความฉลาดรู้ดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชัยภูมิth_TH
dc.title.alternativeDigital intelligence of schools administrators under the Secondary Educational Service Area Office Chaiyaphumen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were 1) to study the level of digital intelligence of school administrators under the Secondary Educational Service Aiea Office Chaiyaphum: 2) to compare the digital intelligence of school administrators classified by gender, age. And work experience: and 3) to study the guidelines for developing digital intelligence of school administrators. The research sample consisted of 86 school administrators under the Chaiyaphum the Secondary Educational Sendee Aiea Office Chaiyaphum. obtained by simple random sampling. The employed research instillment was a questionnaire on the digital intelligence of school administrators with the reliability coefficient of .96. The statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test. analysis of variance, pan testing by LSD method, and content analysis. The research findings were as follow: 1) the overall and each aspects of the digital intelligence of school administrators was at a high level and could be ranked from top to bottom based on their rating means as follows: digital access and awareness, using digital tools or basic applications for work, applying digital tools to work, production of public service datasets, using digital programs for data analysis for routine tasks, using information between organization, and using digital for collaboration, respectively: 2) the results of the comparison on the digital intelligence of school administrators found that (1) the school administrators With different genders had different digital intelligence in overall and each aspect: (2) the school administrators with different ages had significantly different digital intelligence at the .05 level both overall and each aspect except for the aspect of applying of digital tools for working, school administrators who had ages less than or equal to 30 years had more digital intelligence than school administrators who had ages between 51-60 years: and (3) the school administrators with different working experiences had significantly different digital intelligence at the .05 level both overall and each aspect, school administrators who had 0-10 years of working experiences had more digital intelligence than school administrators who had working experiences between 21-30 years and over 31 years: and 3) the guidelines for developing the digital intelligence of school administrators were as follows: (1) the school administrators should develop themselves to have knowledge and understanding of digital technology: (2) the affiliated agency or educational service area office should continuously promote and support digital learning for school administrators; and (3) the government agencies or the ministry of education should develop the use of digital technology for all organizations, comprehensively and thoroughly including the developing of technology infrastructure and the internet networken_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม29.29 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons