Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3283
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโสภนา สุดสมบูรณ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพรธารา แสงศรี, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-02-16T02:30:26Z-
dc.date.available2023-02-16T02:30:26Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3283-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้วัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับภาวะผู้นำการเรียนการสอนของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 กลุ่ม 6 2) ศึกษาระดับสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 กลุ่ม 6 และ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเรียนการสอนของผู้บริหารสถานศึกษาและการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กลุ่ม 6 จำนวน 255 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรการคำนวณ ทาโร่ ยามาเน่ แล้วสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นตามขนาดของสถานศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำการเรียนการสอนของผู้บริหารสถานศึกษาและการปฏิบัติงานของครู มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.98 และ 0.99 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า 1) ระดับภาวะผู้นำการเรียนการสอนของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงจากมากไปน้อย ดังนี้ ด้านการยกระดับการพัฒนาวิชาชีพเพื่อเสริมสร้างความสามารถครู ด้านการประเมินและกำกับติดตามการเรียนการสอน ด้านการส่งเสริมการสื่อสารภายนอกเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ ด้านการส่งเสริมความสัมพันธ์เชิงบวก ด้านการปรับหลักสูตรให้มีความสอดคล้องเชื่อมโยง และด้านการกำหนดเป้าประสงค์และทิศทางการพัฒนา 2) การปฏิบัติงานของครูในศึกษาโดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุด โดยเรียงจากมากไปน้อย ดังนี้ ด้านการปฏิบัติหน้าที่ครู ด้านการจัดการเรียนรู้ และด้านความสัมพันธ์กับผู้ปกครองและชุมชน และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเรียนการสอนของผู้บริหารสถานศึกษาและการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษามีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับ ระดับปานกลาง อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความสัมพันธ์ระหว่างครูกับอาจารย์ใหญ่th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเรียนการสอนของผู้บริหารสถานศึกษาและการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กลุ่ม 6th_TH
dc.title.alternativeThe relationship between the instructional leadership of school administrators and the performance of teachers in schools under the Secondary Educational Service Area Office Bangkok 1, Group 6th_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to: 1) study the level of the instructional leadership of school administrators under the Secondary Educational Service Area Office Bangkok 1, Group 6; 2) study the level of the performance of teachers; and 3) study the relationship between the instructional leadership of school administrators and the performance of teachers. The research sample consisted of 255 teachers in schools under the Secondary Educational Service Area Office Bangkok 1, Group 6. The sample size was determined with the use of Taro Yamane formula, obtained by stratified random sampling based on school size. The employed research instrument was a questionnaire on the instnictional leadership of school administrators and the performance of teachers, with reliability coefficients of .98 and .99, respectively. The statistics employed for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson's conelation coefficient. The research findings were as follows: 1) the overall and each aspect of the instnictional leadership of the school administrators were rated at a high level, with mean scores in descending order: the enhancing professional development to promote teachers’ performance; the instnictional evaluation and monitoring; the promoting external communication to support learning; the promoting positive relationship; the coherent curriculum adaptation; and the defining goals and directions for development; 2) the overall and each aspect of the teachers’ performance were at the highest level, with mean scores in descending order: the teachers’ perfonnance; the learning management; and the relationships between parents and communities; and 3) the relationship between the instnictional leadership of school administrators and the performance of teachers was a moderately positive conelation with statistically significance at the .01 levelen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.96 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons