Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3314
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธีรเดช มโนลีหกุล | th_TH |
dc.contributor.author | มนัส โหย่งไทย, 2507- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-02-16T04:01:17Z | - |
dc.date.available | 2023-02-16T04:01:17Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3314 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง การคุ้มครองสิทธิของผู้ต้องขังในเรือนจำทหาร มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการลงโทษและการคุ้มครองสิทธิของผู้ต้องขังในเรือนจำทหาร (2) ศึกษาปัญหาของมาตรการในการคุ้มครองสิทธิผู้ต้องขังทหารในการลงโทษทางวินัยทหารของเรือนจำทหารในประเทศไทย (3) ศึกษาเปรียบเทียบมาตรการในการคุ้มครองสิทธิของผู้ต้องขังทหารในการลงโทษทางวินัยทหารของเรือนจำทหารในประเทศไทย ประเทศออสเตรเลีย ประเทศอังกฤษ และประเทศสหรัฐอเมริกา และ (4) เสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขการคุ้มครองสิทธิของผู้ต้องขังทหารในการลงโทษทางวินัยทหารของประเทศไทย ให้มีมาตรฐานตามหลักการสากล การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยทางเอกสารจากตำรา หนังสือ วิทยานิพนธ์ งานวิจัย บทความ ตัวบทกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิผู้ต้องขังในเรือนจำทหาร การคุ้มครองสิทธิผู้ต้องขังในเรือนจําทหาร และการลงโทษทางวินัยทหารในประเทศไทยและต่างประเทศ ผลการศึกษา พบว่า เรือนจําทหารเป็นสถานที่ควบคุมผู้กระทำความผิดหรือผู้ต้องขังตามคำพิพากษาของศาลหรือคำสั่งของเจ้าพนักงานผู้มีอำนาจตามกฎหมายทหาร แต่เจ้าหน้าที่เรือนจำไม่ได้ปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ อย่างเคร่งครัด ตามพระราชบัญญัติเรือนจำทหาร พ.ศ. 2479 โดยมีประเด็นที่สำคัญ คือ (1) การพิจารณาลงโทษไม่เป็นไปตามหลักการสากล โดยผู้บังคับบัญชาทางทหาร ไม่พิจารณาถึงมาตรการในการลงโทษตามที่กฎหมายกำหนดไว้ โดยให้อำนาจกับเจ้าพนักงานเรือนจำทหารหรือผู้มีอำนาจสั่งลงโทษสามารถลงโทษทางวินัยกับผู้ต้องขังได้ด้วยตนเอง ซึ่งใช้การลงโทษที่รุนแรง เพื่อให้ผู้ได้รับโทษเกิดความเข็ดหลาบและเพื่อไม่ให้เป็นแบบอย่างแก่ผู้ต้องขังคนอื่น ทั้งนี้ ตามหลักการสากลแล้ว ควรกำหนดให้เป็นอำนาจของศาลทหารในการพิจารณาสั่งลงโทษ ทั้งนี้เพื่อคุ้มครองสิทธิแก่ผู้ต้องขังทหาร (2) มีการให้ดุลยพินิจของผู้บังคับบัญชาในการพิจารณาลงโทษมากเกินไป หากองค์กรทหารให้อำนาจผู้บังคับบัญชาในการใช้ดุลยพินิจในการพิจารณาลงโทษผู้ใต้บังคับบัญชาอาจส่งผลให้เกิดความรุนแรงต่อทหารชั้นผู้น้อยผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาได้ (3) ผลการศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายในต่างประเทศ พบว่าการลงโทษผู้กระทำผิดวินัยทหาร ในต่างประเทศยังคงได้รับการคุ้มครองสิทธิในการยื่นฟ้องต่อศาลปกครอง อีกทั้งผู้ถูกลงโทษยังมีสิทธิในการปฏิเสธการลงโทษจากผู้บังคับบัญชาและร้องขอให้ศาลทหารพิจารณาการลงโทษแทนการลงโทษของผู้บังคับบัญชา ทั้งนี้จากการศึกษาจึงเสนอแนะให้มีการปรับปรุงแก้ไข พระราชบัญญัติเรือนจำทหาร พ.ศ. 2479 และพระราชบัญญัติว่าด้วยวินัยทหาร พ.ศ. 2476 ให้ทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคปัจจุบัน ซึ่งกฎหมายทหารในปัจจุบันนั้นต้องให้การคุ้มครองสิทธิของผู้ต้องขังทหาร โดยให้มีสิทธิเช่นเดียวกับสิทธิของผู้ต้องขังที่เป็นพลเรือน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | นักโทษ--สิทธิของพลเมือง | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชน | th_TH |
dc.title | การคุ้มครองสิทธิของผู้ต้องขังในเรือนจำทหาร | th_TH |
dc.title.alternative | Protection of Prisoners' rights in military prison | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | All independent study on the protection of the rights of inmates in military prisons aims: (1) to study the concept of punishment theory and the protection of the rights of the inmates in military prisons. (2) to study the problem of measures to protect the rights of military inmates to discipline mihtaiy personnel in military prisons in Thailand. (3) to study and compare measures to protect the rights of military inmates in military disciplinary action in military prisons in Thailand. Australia, UK and USA (4) to suggest ways to improve the protection of the rights of military inmates in the disciplining of military personnel in Thailand in order to conform with the international standards. This independent study is a qualitative research study basing on a documentary research method by studying textbooks, books, dissertations, research papers, articles, and ordinances concerning the rights of inmates in military prisons and mihtaiy disciplinary action in Thailand and abroad. The results of the study revealed that a military prison is a place for the detention of offenders or inmates according to court judgments or orders of officials authorized under the military law. However, prison officials did not strictly comply with various rules and regulations according to the Military Prison Act of 1954. Finding issues as follows: (1) The consideration of punishment is contrary to international principles. The military commander did not consider the measures of punishment as required by the law. By giving the power to prison officers, soldiers, or anyone else, who have the power to order punishment, they can punish the inmates themselves, which uses harsh punishment in order to create deterrence and not to set an example for other inmates. According to international principles, this should be defined as the power of the military court to consider punishment. This is to protect the rights of military inmates. (2) The supervisor has a broad scope of discretion when it comes to imposing punishment. If a military organization gives commanders the power to exercise discretion against their subordinates, it can result in violence against minority soldiers. (3) The comparative study finds that the rights of military inmates in military disciplinary action is protected by administrative court. Moreover, military inmates can refuse to accept tile disciplinary punishment and file a petition to the military court to render judgment upon the appropriate punishments. Consequently, the Military Prison Act of 1936 and the Military Discipline Act of 1933 are proposed to be amended to conform to the present circumstances. The amendment of military law must provide equivalent protection between the rights of military imitates and the rights of civilian prisoners. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11.84 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License