Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3329
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิมาน กฤตพลวิมาน | th_TH |
dc.contributor.author | เอกนิติ ชำนิหัส, 2530- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-02-16T04:30:08Z | - |
dc.date.available | 2023-02-16T04:30:08Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3329 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับกฎหมายการใช้ลิขสิทธิ์ โดยชอบธรรมในงานวรรณกรรม (2) ศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้ลิขสิทธิ์โดยชอบธรรมในงานวรรณกรรมของประเทศไทย สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และออสเตรเลีย (3) ศึกษาปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการใช้ลิขสิทธิ์โดยชอบธรรมในงานวรรณกรรมของประเทศไทย (4) เสนอแนวทางในการแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับการใช้ลิขสิทธิ์โดยชอบธรรมในงานวรรณกรรมของประเทศไทย การค้นคว้าอิสระฉบับนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีวิจัยเอกสารจากตำรา หนังสือ วิทยานิพนธ์ วารสารเอกสารต่าง ๆ รวมทั้งข้อมูล ตัวบทกฎหมาย อนุสัญญาและข้อตกลงระหว่างไทยและต่างประเทศ ผลการศึกษาพบว่า (1) ลิขสิทธิ์เป็นสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของผู้สร้างสรรค์ แต่จะได้รับการคุ้มครองหรือไม่นั้นจะต้องถูกกําหนดไว้ในกฎหมาย ผู้สร้างสรรค์ย่อมมีสิทธิ์ที่จะหวงแหน หรือป้องกันไม่ให้บุคคลใดนำงานของตนไปใช้ โดยไม่ได้รับอนุญาต (2) กฎหมายที่เกี่ยวข้องในประเทศไทย พบว่า สาระสำคัญของการใช้ลิขสิทธิ์โดยชอบธรรม ได้แก่ การกระทำที่ไม่ขัดต่อการแสวงหาประโยชน์ และไม่กระทบถึงสิทธิ์ของเจ้าของเกินสมควร ส่วนกฎหมายในประเทศอังกฤษ และ ออสเตรเลีย ได้บัญญัติถึงการกระทำที่ถือว่าเป็นการใช้ลิขสิทธิ์โดยชอบธรรมไว้ เป็นกรณีไป โดยระบุขอบเขต ปริมาณ และลักษณะการใช้งานไว้ แต่ไม่ได้บัญญัติการใช้ลิขสิทธิ์ โดยชอบธรรมเป็นกรณีทั่วไปไว้ ซึ่งต่างจากกฎหมายสหรัฐอเมริกา ซึ่งนอกจากจะบัญญัติวัตถุประสงค์และลักษณะการใช้ลิขสิทธิ์แล้วนั้น ยังบัญญัติขยายความให้ชัดเจนออกไปอีกในเรื่องของสภาพ ปริมาณงาน เมื่อเทียบเป็นสัดส่วนในภาพรวมของงานอันมีลิขสิทธิ์ และผลกระทบต่อตลาดและมูลค่าของงานอันมีลิขสิทธิ์นั้นอีกด้วย (3) ปัญหากฎหมายที่เกี่ยวข้องในประเทศไทยที่พบ ได้แก่ 1) ขาดความชัดเจนในการตีความเพื่อกำหนดขอบเขตของการใช้ลิขสิทธิ์โดยชอบธรรม 2) ไม่มีหลักเกณฑ์เฉพาะเกี่ยวกับการใช้ลิขสิทธิ์โดยชอบธรรมในงานวรรณกรรม 3) ไม่มีการกำหนดปริมาณการใช้งานลิขสิทธิ์โดยชอบธรรมในงานวรรณกรรม 4) ไม่มีหลักเกณฑ์เฉพาะที่ใช้ทั่วไปในการความว่าการกระทําแก่งานอันมีลิขสิทธิ์นั้นไม่ขัดต่อการใช้ลิขสิทธิ์โดยชอบธรรม (4) ข้อเสนอแนะได้แก่ 1) การกําหนดสาระสําคัญของวัตถุประสงค์ ลักษณะการใช้งาน สภาพของงาน ปริมาณงาน นำมาเทียบเป็นสัดส่วนกับภาพรวมของงานอันมีลิขสิทธิ์ และผลกระทบต่อตลาดมูลค่าของงานอันมีลิขสิทธิ์ 2) หากปริมาณงานที่นํามาใช้เมื่อเทียบเป็นสัดส่วนกับภาพรวมของงานอันมีลิขสิทธิ์ ไม่กระทบต่อสิทธิ์ของเจ้าของตามสมควรและได้ปฏิบัติตามมาตรา 32 วรรคหนึ่ง ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ 3) การกระทำแต่งานวรรณกรรมรวมถึงสิ่งตีพิมพ์ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ยกเว้นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ในปริมาณไม่เกินร้อยละ 10 4) ควรจัดทำคู่มือเพื่อให้หลักเกณฑ์ในการใช้ลิขสิทธิ์ที่เป็นธรรม และมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ลิขสิทธิ์--วรรณกรรม | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายธุรกิจ | th_TH |
dc.title | ปัญหาการใช้ลิขสิทธิ์โดยชอบธรรมในงานวรรณกรรม | th_TH |
dc.title.alternative | Problems of copyright fair use in literary work | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This independent study aims to (1) study concepts and theories related to laws on copyright fair use in literary work (2) study laws on copyright fair use in literary work in Thailand, the United States of America, England and Australia: (3) study problems of laws related to copyright fair use of Thailand copyrighted literary work, and (4) recommend a guideline for amendment of laws related to copyright fair use of Thai literary work. This independent study is qualitative research. Documents, textbooks, books, thesis, journals, papers, as well as data, legal provisions, conventions and agreements between Thailand and foreign countries were studied. The research findings are as follows. (1) A copyright is an intellectual property right initiated from a creator's creativity. Protection of copyrighted material should be stated in laws. The creator has the right to value or prevent any person from using his/her work without his/her consent. (2) According to relevant Thai laws, the essence of fair use of rights includes acts which are not in conflict with the pursuit of benefit gains, and do not affect the owner's right. In England and Australia, an act that is deemed as copyright fair use has been enacted in the laws, whereas the scope, volume, and nature of use are specified. However, the copyright fair use on a general case basis is not enacted, which is different from the United States, where, besides enactment of objectives and the nature of copyright use, conditions and workloads are specified when compared to the overall proportion of the copyrighted work and impacts on the market and value of the copyrighted work. (3) Revealed related legal problems in Thailand are: 1) a lack of cleaness in interpretation of the scope of copyright fair use; 2) no specific rules related to copyright fair use in literary work; 3) no determination of the volume of copyright fair use in literary work, and 4) no specific rules generally used in interpretation where the act on the said copyrighted work is not in conflict with fair use of copyright. (4) Recommendations are as follows. 1) Determination on the essence of objectives, nature of use, work conditions, and workloads for comparison with the overall proportion of the copyrighted work and impacts on the market and value of the copyrighted work. 2) If the workloads used to compare the proportion of overall copyrighted material does not affect the owner's right and complies with Section 32 paragraph One, it shall not be deemed as copyright infringement. 3) The acts on literary works including printed material using electric systems, except computer programs, are not deemed as copyright infringement in the volume not exceeding 10%. 4) A manual should be prepared to present rules of fairer and clearer copyright use. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 10.73 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License