Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/333
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชุติมา สัจจานันท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจันทิมา เขียวแก้ว, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพิมพ์รำไพ เปรมสมิิทธ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorดวงแก้ว เงินพูลทรัพย์, 2522--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-09T02:18:42Z-
dc.date.available2022-08-09T02:18:42Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/333-
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนามาตรฐานการรู้สารสนเทศของนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวารสารศาสตร์ ในประเทศไทย (2) ศึกษาระดับทักษะการรู้สารสนเทศของนักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขา วารสารศาสตร์และ (3) ศึกษาแนวทางการพัฒนาทักษะการรู้สารสนเทศของนักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขา วารสารศาสตร์ วิธีการวิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี โดยการวิเคราะห์เอกสารการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลักกลุ่มที่ 1 ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการรู้สารสนเทศและวารสารศาสตร์จากประเทศไทย ญี่ปุ่ น และออสเตรเลีย จ านวน 44 คน การส่งแบบสอบถามความคิดเห็นผู้ให้ข้อมูลหลักกลุ่มที่ 2 อาจารย์ นักวิชาการ และนักวิชาชีพสาขาบรรณารักษศาสตร์/ สารสนเทศศาสตร์ วารสารศาสตร์/นิเทศศาสตร์ จ านวน 38 คน การศึกษาระดับทักษะการรู้สารสนเทศของนักศึกษา ระดับปริญญาตรีสาขาวารสารศาสตร์ชั้นปี ที่ 2 – 4 สุ่มแบบหลายขั้นตอนจ านวน 409 คน และการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลักกลุ่มที่ 3 รองคณบดีฝ่ ายวิชาการ อาจารย์ประจ าหลักสูตรวารสารศาสตร์ ผู้อำนวยการ/หัวหน้าห้องสมุด/ บรรณารักษ์ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา และผู้บริหารสมาคมวิชาชีพวารสารศาสตร์จำนวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัยได้แก่แบบบันทึก แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม และแบบทดสอบ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้ การวิเคราะห์ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า (1) มาตรฐานการรู้สารสนเทศของนักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาวารสารศาสตร์ ประกอบด้วย 6 มาตรฐาน 13 สมรรถนะหลัก และ 32 สมรรถนะย่อย (2)นักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาวารสารศาสตร์มี ทักษะการรู้สารสนเทศโดยรวมในระดับปานกลาง มาตรฐานที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุดคือมาตรฐานที่ 1 การกำาหนดความต้องการสารสนเทศและแหล่งสารสนเทศได้ โดยมีทักษะการรู้สารสนเทศในระดับปานกลาง และมาตรฐานที่มีคะแนนเฉลี่ยต่ำที่สุดคือมาตรฐานที่ 5 การใช้สารสนเทศเพื่อการผลิตและนำาเสนอเรื่องโดยยึดหลักจริยธรรมและ จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ โดยมีทักษะการรู้สารสนเทศในระดับต่ำ และ(3) แนวทางการพัฒนาทักษะการรู้สารสนเทศ ของนักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาวารสารศาสตร์มีชื่อว่า “พีซีไอโมเดล” ประกอบด้วยการบริหารแบบมีส่วนร่วม ความร่วมมือ และกลยุทธ์เชิงบูรณาการการพัฒนาทักษะการรู้สารสนเทศth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subject.lccมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์.th_TH
dc.subject.lccมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subject.lccทักษะการเรียน. | การรู้สารสนเทศth_TH
dc.titleการพัฒนาทักษะการรู้สารสนเทศของนักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาวารสารศาสตร์th_TH
dc.title.alternativeThe development of information literacy skills for Undergraduate students in Journalismen_US
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาเอกth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to develop standards for information literacy skills of undergraduate students in journalism programs in Thailand; (2) to study the level of information literacy skills of undergraduate students in journalism programs; and (3) to study guidelines for development of information literacy skills of undergraduate students in journalism programs. This study was mixed-method research comprising documentary analysis, interview and questionnaires. The first group of 44 informants consisted of experts on information literacy or journalism from Thailand, Japan, and Australia. Questionnaires were used to collect data from the second group of 38 informants consisting of instructors, academics, and professionals in library science/information science or journalism/ communication science. Tests were used to evaluate the level of information literacy skills of undergraduate students. There were 409 samples from the second year – fourth year undergraduate students in journalism programs drawing through a multi-stage sampling procedure. Interviews were arranged with the third group of 20 informants consisting of vice deans on academic affairs, instructors in journalism programs, directors/heads/librarians of higher education institution libraries, and administrators of professional associations in journalism. The research instruments were a note-taking form, an interview form, questionnaires, and a test. Quantitative data were statistical analyzed by using percentage, mean, and standard deviation; while qualitative data were analyzed by content analysis. Research findings were as follow (1) The standards for information literacy skills of undergraduate students in journalism comprise of six standards with 13 main competencies and 32 sub-competencies. (2) The overall information literacy skills of undergraduate students in journalism were at a moderate level. The standard with highest average score is information need and information sources identification while the use of information to produce and present a story based on ethics and professional ethics, had got lowest average score. (3) The guidelines for the development of information literacy skills of undergraduate students in journalism were the “PCI Model”, which consisted of participatory management, collaboration, and integrated strategies for development of information literacy skills. Keywords: Information literacy, Journalism studenten_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
156503.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.4 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons