Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3363
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัฒนา มัคคสมัน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวรรณี แก้วคำศรี, 2507-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-02-16T07:30:25Z-
dc.date.available2023-02-16T07:30:25Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3363en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการพูดของเด็กปฐมวัย ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเล่านิทานประกอบหุ่นชัก กลุ่มตัวอย่างคือ เด็กปฐมวัยขั้นอนุบาลปีที่ 3 อายุ 5-6 ปี จำนวน 40 คน โรงเรียนอุดรวิทยาในภาคเรียนที่2ปีการศึกษา 2558ได้มาโดยวิธีการลุ่มแบบกลุ่มเครื่องมือที่ใซ้คือ (1) คู่มือการจัดกิจกรรมการการเล่านิทานประกอบหุ่นชัก และ (2) แบบวัดความสามารถในการพูด ของเด็กปฐมวัย สถิติที่ใซ้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า ความสามารถในการพูดของเด็กปฐมวัย โรงเรียนอุดรวิทยา จังหวัดอุดรธานี หลังการจัดกิจกรรมการการเล่านิทานประกอบหุ่นซัก สูงกว่าก่อนการจัดกิจกรรม อย่างมืนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการพูด -- กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectการเล่านิทาน -- กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectเด็กวัยก่อนเข้าเรียน -- กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleผลการจัดกิจกรรมการเล่านิทานประกอบหุ่นชักที่มีผลต่อความสามารถในการพูดของเด็กปฐมวัยโรงเรียนอุดรวิทยา จังหวัดอุดรธานีth_TH
dc.title.alternativeThe effect of the CIPPA learning management model on creative writing ability of prathom suksa V students at Ban Mala School in Yala Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_149658.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.02 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons