กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3363
ชื่อเรื่อง: ผลการจัดกิจกรรมการเล่านิทานประกอบหุ่นชักที่มีผลต่อความสามารถในการพูดของเด็กปฐมวัยโรงเรียนอุดรวิทยา จังหวัดอุดรธานี
ชื่อเรื่องอื่นๆ: The effect of the CIPPA learning management model on creative writing ability of prathom suksa V students at Ban Mala School in Yala Province
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: วัฒนา มัคคสมัน, อาจารย์ที่ปรึกษา
วรรณี แก้วคำศรี, 2507-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน -- การศึกษาเฉพาะกรณี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณี
การพูด -- กิจกรรมการเรียนการสอน
การเล่านิทาน -- กิจกรรมการเรียนการสอน
เด็กวัยก่อนเข้าเรียน -- กิจกรรมการเรียนการสอน
การศึกษาอิสระ -- หลักสูตรและการสอน
วันที่เผยแพร่: 2558
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการพูดของเด็กปฐมวัย ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเล่านิทานประกอบหุ่นชัก กลุ่มตัวอย่างคือ เด็กปฐมวัยขั้นอนุบาลปีที่ 3 อายุ 5-6 ปี จำนวน 40 คน โรงเรียนอุดรวิทยาในภาคเรียนที่2ปีการศึกษา 2558ได้มาโดยวิธีการลุ่มแบบกลุ่มเครื่องมือที่ใซ้คือ (1) คู่มือการจัดกิจกรรมการการเล่านิทานประกอบหุ่นชัก และ (2) แบบวัดความสามารถในการพูด ของเด็กปฐมวัย สถิติที่ใซ้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า ความสามารถในการพูดของเด็กปฐมวัย โรงเรียนอุดรวิทยา จังหวัดอุดรธานี หลังการจัดกิจกรรมการการเล่านิทานประกอบหุ่นซัก สูงกว่าก่อนการจัดกิจกรรม อย่างมืนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3363
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Edu-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
fulltext_149658.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.02 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons