Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3424
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเบญจมาศ อยู่ประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสินีนุช ครุฑเมือง แสนเสริม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปิยะธิดา อ่อนพันธ์, 2527--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-02-17T07:04:26Z-
dc.date.available2023-02-17T07:04:26Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3424-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังในประเด็น (1) สภาพพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร (2) สภาพการผลิตมันสำปะหลัง (3) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการผลิตมันสำปะหลัง (4) ความต้องการการส่งเสริมการผลิตมันสำปะหลัง และ (5) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการส่งเสริมการผลิตมันสำปะหลัง ผลการวิจัย พบว่า (1) เกษตรกร เกินกว่าครึ่งเป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 50 ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 4 ประสบการณ์การผลิตมันสำปะหลังเฉลี่ย 6 ปี รับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับการผลิตมันสำปะหลังระดับปานกลางจาก 2 ช่องทาง คือจากสื่อบุคคลและสื่อมวลชน และรับรู้ข่าวสารระดับน้อยที่สุดจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (2) เกษตรกรเกือบทั้งหมดมีการเตรียมดินและการบำรุงดิน การกำหนดระยะปลูก การเตรียมท่อนพันธุ์และวิธีการปลูก การใส่ปุ๋ย การดูแลรักษา และการเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว (3) เกษตรกรเกินกว่าครึ่งมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการผลิตมันสำปะหลังอยู่ในระดับมาก โดยเกษตรกรเกือบทั้งหมด มีความรู้ความเข้าใจในประเด็นการปลูกมันสำปะหลังควรทำการยกร่องแปลงปลูกเพื่อการระบายน้ำที่ดี และในประเด็นหลังการเก็บเกี่ยวผลผลิตหัวมันสด ควรรีบส่งจำหน่ายทันที่ไม่ควรทิ้งไว้เกิน 4 วัน เพราะผลผลิตจะเกิดการเน่าเสียได้ (4) เกษตรกรมีความต้องการการส่งเสริมการเกษตรในระดับมากที่สุดใน 3 ประเด็น ได้แก่ ความต้องการการสนับสนุนต้นพันธุ์ดีจากภาครัฐ ความต้องการการสนับสนุนปัจจัยการผลิต และความต้องการเจ้าหน้าที่ติดตามให้คำแนะนำอย่างสม่ำเสมอ รองลงมามีความต้องการการส่งเสรีระดบบัมากใน 2 ประเด็น ได้แก่ ความต้องการด้านการตลาด และความรู้ในการผลิตมันสำปะหลัง (5) เกษตรกรเกือบทั้งหมดมีปัญหาในเรื่องความผันผวนของราคาผลผลิต รองลงมาคือราคาปุ๋ย และวัสดุบำรุงดินมีราคาสูง เกษตรกรเกือบครึ่งหนึ่ง เสนอแน่ะว่า ภาครัฐควรมีมาตรการในการประกันราคามันสำปะหลังให้มีความคงที่โดยไม่เกิดความผันผวนของราคาผลผลิตth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.23-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมันสำปะหลัง--การปลูกth_TH
dc.subjectการส่งเสริมการเกษตรth_TH
dc.titleความต้องการการส่งเสริมการผลิตมันสำปะหลังของเกษตรกรในอำเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรีth_TH
dc.title.alternativeExtension needs in cassava production of farmers in Sabot District of Lopburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2014.23-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe research aimed to investigate cassava farmers in the following topics: (1) socio-economic status, (2) situations of cassava production, (3) knowledge and understanding in cassava production, (4) the extension needs for cassava production, and (5) problems and suggestions on the extension of cassava production. One hundred and eighty-two farmers were selected out of 1,697 registered cassava farmers in year 2014 from Sabot District, Lop Buri Province. These farmers were selected by using systematic random sampling method. Data were collected through the interviews and were analyzed by using statistical computerized program including frequency, percentage, mean, standard deviation, minimum and maximum values. The research results were found that: (1) more than half of interviewed famers were male with an average age of 50 years and completed four years in elementary school; and the experience in cassava production was 6 years in an average. The farmers received information of cassava production via personal media and mass media at the moderate level, whereas information technology was the media that farmers received the information at the least level. (2) Nearly all of farmers used chemical control for weeds, and they sold cassava produces immediately after harvesting. (3) More than half of them had knowledge and understanding in cassava production at the much level. (4) Farmers needed the extension in the following issues: the needs for government support on good cassava variety, the needs for support on production supplies, and the needs for regular follow up from the agricultural extensionists. Hence, (5) nearly all of them stated that they had problems in cassava production on the fluctuation of cassava sale price followed by high prices of fertilizer soil improvement substances. Almost half of them suggested that the government should use the guaranteed price policy to prevent the fluctuation of cassava sale price.en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
148018.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.42 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons