Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/343
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวฤษาย์ ร่มสายหยุด, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุภัทร ปกาสิทธิ์, 2522--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-09T03:46:53Z-
dc.date.available2022-08-09T03:46:53Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/343-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาแบบจําลองสถานการณ์ความเสี่ยงของกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาเชื่อมโยงเข้ากับกระบวนการบริหารความเสี่ยงโคบิต 5 (2) เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศของกองทุนฯ ตามกระบวนการบริหารความเสี่ยงโคบิต 5 และ (3) เพื่อทดสอบความน่าเชื่อถือของแบบจําลอง สถาณการณ์ความเสี่ยงที่พัฒนาขึ้นและประเมินผลสถานการณ์ความเสี่ยงจากข้อมูลจริง การดําเนินงานวิจัยประกอบด้วย (1) ศึกษาความเสี่ยงกองทุนเพื่อสร้างแบบจําลองความเสี่ยงกองทุน (2) วิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงกองทุน (3) ออกแบบสถานการณ์ความเสี่ยงกองทุนและสถานการณ์อื่นที่เกี่ยวข้องจากการวิเคราะห์ความเสี่ยงกองทุน (4) เพื่อทดสอบกับรูปแบบตรวจสอบและวัดความสามารถกระบวนการกำกับดูแลความเสี่ยงและกระบวนการบริหารความเสี่ยงตามหลักการโคบิต 5 (Process) แบ่งเป็น กระบวนการกำกับดูแลความเสี่ยง (EDM03) 3 กระบวนการ และกระบวนการบริหารความเสี่ยง (APO12) 6 กระบวนการ รวม 9 กระบวนการ (5) ทดสอบแบบจําลองสถานการณ์การความเสี่ยงกับรูปแบบระบบตรวจสอบและวัดความสามารถของการบริหารความเสี่ยงตามหลักการโคบิต 5 (6) ผลผลิตกระบวนการบริหารความเสี่ยงกองทุนตามหลักการบริหารความเสี่ยงโคบิต 5 และ (7) ประเมินผลสถานการณ์ความเสี่ยงกองทุนที่ดําเนินตามขั้นตอนหลักการโคบิต 5 ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าการจัดการความเสี่ยงของกองทุนฯ อยู่บนพื้นฐานของหลักการโคบิต 5 ได้ดําเนินการบนพื้นฐานของหลักการโคบิต 5 มีผลความสําเร็จเป็น 0.02% และมีความเชื่อมั่น 95% ในหลักการโคบิต 5 ในรูปแบบกระบวนการวัดความสามารถ ผลลัพธ์ที่ได้เปรียบเทียบกับธนาคารกสิกรไทยในกระบวนการความเสี่ยงเป็น 67.35% อย่างไรก็ตาม กองทุนฯ ควรดําเนินกิจกรรมและกระบวนการขึ้นอยู่กบกระบวนการความเสี่ยง ตาม หลักการโคบิต 5 ตามระเบียบวิธีวิจัยสําหรับการเพิ่มประสิทธิภาพและบูรณาการการดําเนินงานของกองทุนฯ และไอทีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.101en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการบริหารความเสี่ยงth_TH
dc.subjectกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาth_TH
dc.titleการบริหารความเสี่ยงและการปรับปรุงคุณภาพระบบกู้ยืมเงินเพื่อการศึกษาตามหลักการโคบิต 5th_TH
dc.title.alternativeRisk management and quality improvement for e-studentloan system based on COBIT5th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2016.101en_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of the research were to (1) To develop risk scenario modelling of Student Loan Fund (SLF) align with Cobit5 for Risk processes (2) To develop information system based on Cobit5 for Risk processed and (3) To ensure and evaluate risk scenario of SLF based on real data set. The research process consists of (1) study a SLF’s risk for SLF’s risk scenario, (2) analysis a SLF’s risk factor analysis, (3) design SLF’s risk scenario and other related risk scenario from SLF’s risk, (4) test a governance and management risk process capability model divided into risk governance process (EDM03) 3 processes and risk management (APO12) 6 processes, (5) test a SLF’s risk scenario model with SLF’s process capability model, (6) producea SLF’s risk process based on COBIT 5, and (7) evaluate SLF’s risk scenario operating based on COBIT 5 The research finding showed that; The SLF’s risk management based on COBIT 5 was implemented base on COBIT 5 as 0.02% and the confident 95% base on COBIT 5’s capability process model. The result compared with Kasikorn Bank that shown a risk process model as 67.35%. However SLF should implement activities and processes based on COBIT 5’s risk process according to a research methodology for increasing effectiveness and integrating the SLF’s operation and ITen_US
Appears in Collections:Science Tech - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_153215.pdfเอกสารฉบับเต็ม20.23 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons