Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3459
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอนุชา ภูริพันธุ์ภิญโญth_TH
dc.contributor.authorวลัยลักษณ์ เลี้ยงดีศรีสุขth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-02-21T06:43:53Z-
dc.date.available2023-02-21T06:43:53Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3459en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลของสมาชิกที่มีผลต่อการ รับรู้สื่อประชาสัมพันธ์ของสหกรณ์ออมทรัพย์ครูลำปาง จำกัด 2) ศึกษาประเภท รูปแบบ และ เนื้อหาของสื่อประชาสัมพันธ์ที่มีผลต่อการรู้เกี่ยวกับข้อมูล ข่าวสาร ความเคลื่อนไหวของสหกรณ์ ออมทรัพย์ครูลำปาง จำกัด 3) ศึกษาการรับรู้ของสมาชิกเกี่ยวกับข้อมูล ข่าวสาร ความเคลื่อนไหว ของสหกรณ์ของสมาชิกจากสื่อประชาสัมพันธ์ของสหกรณ์ออมทรัพย์ครูลำปาง จำกัด วิธีการศึกษาโดยใช้ข้อมูลปฐมภูมิ โดยเก็บจากแบบสอบถาม จากจำนวนกลุ่มตัวอย่าง เท่ากับ 380 ราย จากสหกรณ์ออมทรัพย์ครูลำปาง จำกัดสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล สถิติ พรรณนา ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติอ้างอิงที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์ (Correlation Analysis) และการวิเคราะห์การ ถดถอย (Regression Analysis) ผลการศึกษาพบว่า สมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ครูลำปาง จำกัด มีความพึงพอใจต่อสื่อ ประชาสัมพันธ์อยู่ระดับ ปานกลาง โดยภาพรวมแล้วสมาชิกมีความพึงพอใจต่อสื่อประชาสัมพันธ์ มากที่สุด ได้แก่ ด้านการประชาสัมพันธ์ของสหกรณ์ สามารถสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับสมาชิกทำ ให้มีทัศนคติที่ดีและเข้าใจในหลักการและปรัชญาของสหกรณ์ ด้านการใช้ประโยชน์จากสื่อ ประชาสัมพันธ์ โดยภาพรวมแล้วสมาชิกได้รับประโยชน์จากสื่อประชาสัมพันธ์ อยู่ระดับปานกลาง สื่อประชาสัมพันธ์ที่สมาชิกสหกรณ์เปิดรับ ได้แก่ สื่อบุคคล ประกอบด้วย คณะกรรมการ เจ้าหน้าที่ ผู้ประสานงานและเพื่อนสมาชิก รองลงมาได้แก่บอร์ดประชาสัมพันธ์ และเอกสารประชาสัมพันธ์ รวมทั้งสื่อประชาสัมพันธ์ ซึ่งส่งผลในทางบวกต่อการรับรู้ของสมาชิก ได้แก่ ด้านสวัสดิการ สิทธิ ประโยชน์ ด้านข้อมูลข่าวสาร ผลการดำเนินงาน กิจกรรมต่าง ๆ แนวทางแก้ไขปัญหาจากสหกรณ์ และด้านกฎระเบียบต่าง ๆ ของสหกรณ์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์ออมทรัพย์ครูลำปาง จำกัด--สมาชิกth_TH
dc.titleสื่อประชาสัมพันธ์ที่มีผลต่อการรับรู้ของสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ครูลำปาง จำกัดth_TH
dc.title.alternativePublicity materials that affect perception for member the Lampang Teachers' Saving Cooperative Co. Ltd.en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe study objectives were focused on 1) to study the individual factor that influenced on the members’ recognition 2) to study the type, form and content of Public Relation Media (PRM) which affected on the information recognition, movement of Lampang Teacher Saving Cooperatives Ltd (LTSC) 3) to study the members’ recognition of LTSC. The study methodology was applied the primary data as the study tool. The sample size of 380 persons collected from LTSC’s members. Descriptive statistics was applied such as frequency, percentage, arithmetic mean, and standard deviation. For the inferential statistics, correlation and regression analysis were used. The study was exhibited that the LTSC members had the public relation media satisfaction at the high level, the members had the highest satisfaction on the public relation media which composed of the public relation, good image of LTSC building for the members led to the well understanding of cooperatives philosophy. For the public relation media usage, the members got benefits from public relation media at the moderate level, public relation media what members received were personal media which composed of cooperatives committee, cooperative officers, cooperatives coordinator and other members following by the bill board of public relation, documents included media of public relation media which had positive influence on members recognition which were welfare, benefits, information, cooperatives business performance, and also the guidance for problem solving, the cooperative regulations.en_US
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
129199.pdfเอกสารฉบับเต็ม21.09 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons