Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3497
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรีรัตน์ ประจนปัจจนึก, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorณัฐพงษ์ กันทรี, 2535--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-02-25T07:33:58Z-
dc.date.available2023-02-25T07:33:58Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3497-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี หรือหลักเกณฑ์พื้นฐานทางกฎหมายมหาชนที่เกี่ยวกับกฎหมายวินัยการเงินการคลัง (2) ศึกษาหลักกฎหมายเกี่ยวกับวินัยการเงินการคลังของไทยและวิเคราะห์เปรียบเทียบกับของฝรั่งเศส (3) ศึกษาวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคในการลงโทษทางปกครอง (4) รวบรวมและเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหากฎหมายวินัยการเงินการคลังของไทย เพื่อใช้เป็นมาตรการทางกฎหมายในการป้องกันการทุจริตและการก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐอย่างมีประสิทธิภาพอย่างที่ควร การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีวิจัยเอกสารจากที่เกี่ยวข้องกับการลงโทษวินัยการเงินการคลัง เช่น หนังสือและตำราทั้งของไทยและต่างประเทศ วิทยานิพนธ์ เอกสารทางวิชาการ รวมทั้งเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้อง และทำการศึกษาพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. 2561 และระเบียบกฎหมายที่ออกตามพระราชบัญญัติฯ ดังกล่าว เพื่อเปรียบเทียบกับหลักกฎหมายวินัยการเงินการคลังของต่างประเทศและนำเสนอข้อมูลแบบพรรณนาวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่า การลงโทษวินัยการเงินการคลังของไทยตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. 2561 ไม่สอดคล้องกับหลักวินัยการเงินการคลังของฝรั่งเศส ก่อให้เกิดปัญหาในการลงโทษตามมาหลายประการ เช่น ปัญหาเงื่อนไขในการลงโทษปัญหาการกำหนดความผิดวินัยการเงินการคลังของรัฐต้องเป็นกรณีกระทำโดยจงใจ ปัญหาการห้ามมิให้ลงโทษ และปัญหาอายุความ ทั้งนี้ ได้เสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาดังกล่าวเพื่อให้มาตรการความผิดวินัยการเงินการคลังของรัฐมีผลบังคับใช้อย่างมีประสิทธิภาพเป็นกลไกทางกฎหมายในการป้องกันการทุจริตและการก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการคลัง--การสอบบัญชีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleปัญหาการลงโทษวินัยการเงินการคลังตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. 2561th_TH
dc.title.alternativeProblems on penalty of state fiscal and financial disciplines under Organic Act on State Audit B.E.2561th_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the independent study were to (1) study the concepts, theories, basic public law related to fiscal and financial discipline laws, (2) study the principles of law regarding fiscal and financial discipline in Thailand and compare with that of France, (3) study and analyze of problems and obstacles in administrative sanctions of law, and (4) compile problems and make suggestions for solutions to the problems of fiscal and financial discipline laws in Thailand to be used as a legal measure to prevent corruption and causing damage to the state as efficiently as it should. This independent study is a qualitative research by document research methods related to fiscal and financial discipline such as Thai and foreign books and textbooks, theses, academic documents including other useful documents and study the Organic Act on State Audit 2018 and regulations under of that to compare with the principles of fiscal and financialdiscipline of foreign countries and present the descriptive data for analysis. The study showed that the punishment of fiscal and financial discipline in Thailand under the Organic Act on State Audit 2018 is not consistent with the French fiscal and financial discipline causing many problems in the punishment such as problem of condition in punishment, problem of fiscal and financial discipline offenses must be the willful case, problem of prohibition of repeated punishment and problem ofprescription. In this regard, the suggestion for solving the said problem for the fiscal and financial discipline offense to be effective as a legal mechanism to prevent corruption and causing damage to the stateen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม33.95 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons