Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3505
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิริพันธ์ พลรบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorต้องตา สถาปนรัติ, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-02-25T09:10:56Z-
dc.date.available2023-02-25T09:10:56Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3505-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง องค์กรผู้มีอำนาจวินิจฉัยอุทธรณ์คำสั่งลงโทษทางวินัยพนักงานเทศบาล นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และหลักกฎหมายที่เกี่ยวกับองค์กรผู้มีอำนาจวินิจฉัยอุทธรณ์คำสั่งลงโทษทางวินัยพนักงานเทศบาล และวิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับองค์กรผู้มีอำนาจวินิจฉัยอุทธรณ์รวมทั้งเสนอแนวทางที่เหมาะสมในการแก้ปัญหาเพื่อเป็นการสร้างหลักประกันให้พนักงานเทศบาลว่าจะได้รับความยุติธรรมอย่างแท้จริง การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสาร โดยศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับเรื่องวินัยและการอุทธรณ์คำสั่งลงโทษทางวินัยพนักงานเทศบาล เช่น พระราชบัญญัติ ประกาศ หลักเกณฑ์ต่าง ๆ หนังสือ ตำรา วิทยานิพนธ์ เอกสารทางวิชาการ และยังได้ศึกษาจากคำวินิจฉัยของศาล รวมทั้งเอกสารอื่น ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาค้นคว้าอิสระในครั้งนี้ ผลการศึกษาพบว่าปัญหาที่สำคัญ 3 ประการ คือ ประการแรกปัญหาความเป็นกลางขององค์กรผู้มีอำนาจวินิจฉัยอุทธรณ์ซึ่งเป็นผู้มีส่วนได้เสียในการสั่งลงโทษทางวินัย ทำให้การพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ไม่มีความเป็นกลางและขัดต่อหลักความยุติธรรมตามธรรมชาติ ประการที่สองปัญหาประสิทธิภาพในการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์อันเกิดจากกระบวนการขั้นตอนของการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ที่ไม่เป็นธรรม หรือทำให้มีการแต่งตั้งผู้มีอำนาจวินิจฉัยอุทธรณ์ที่ไม่มีความรู้ความสามารถ และมีความล่าช้าทำให้ไม่สามารถอำนวยความยุติธรรมให้เกิดขึ้นได้ และประการที่สามปัญหาโครงสร้างองค์กรผู้มีอำนาจวินิจฉัยอุทธรณ์ ที่มีองค์ประกอบและรูปแบบไม่ เหมาะสม เนื่องจากมีความซ้ำซ้อนกันอย่างชัดเจน ดังนั้นจึงเห็นควรให้แก้ไขกฎหมาย ระเบียบที่เกี่ยวข้องให้เกิดความสอดคล้องกับหลักความยุติธรรมตามธรรมชาติอันจะเป็นผลดีสืบไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectอุทธรณ์th_TH
dc.subjectพนักงานเทศบาล--วินัยth_TH
dc.subjectการลงโทษth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleองค์กรผู้มีอำนาจวินิจฉัยอุทธรณ์คำสั่งลงโทษทางวินัยพนักงานเทศบาลth_TH
dc.title.alternativeThe appellate authority on disciplines of municipal officialsth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of "The Appellate Authority on Disciplines of Municipal Officials" aim to study theory, the principles of law, rules, the appellate authority on disciplines of municipal officials and analyze the problem conditions of this matter as well as to find out suitable solutions to solve those problems in order to provide guarantee measures for truly fairness to municipal officials. This research was a qualitative research conducted through documentary research by studying from documents on appeal procedure and appeal consideration for municipal officials including provisions of law, textbooks, theses, academic papers as well as judgments of courts. The result of study consists of main three problems which were unfair rules. Firstly, the appellate authority on disciplines may cause to have an interest in the disciplinary proceeding which contrasts to the principle of natural justice. Secondly, the problem on appealing process is not effective due to some defects of appeal process or rules or by appointing some members of the appellate authority who lack of knowledge or understanding of law or the delay of appealing process. Finally, it is the problem on the structure of authority that both instant and appellate levels are vested in the same body. In conclusions, it should be better to amend law and rules to be in conformity with the natural justice for future better effectsen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.85 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons