Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/355
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิภา เจริญภัณฑารักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสันติพัฒน์ อรุณธารี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจิรพรรณ ธาตุรักษ์, 2530-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-09T07:04:53Z-
dc.date.available2022-08-09T07:04:53Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/355-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.(เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างแนวปฏิบัติด้านบริหารคุณภาพและบริการไอทีของ อุตสาหกรรมเซรามิกของไทยด้วยมาตรฐาน ISO 9001:2015 และISO 20000:2005 (2) พัฒนาระบบเว็บเซอร์วิสเพื่อปรับเปลี่ยนธุรกิจยุคดิจิทัลของอุตสาหกรรมเซรามิกไทยด้านการบริหารคุณภาพและบริการไอทีตามแนวปฏิบัติที่ได้สร้างขึ้น และ (3) ประเมินประสิทธิภาพของระบบที่พัฒนาขึ้นในด้านเวลา ต้นทุน และ ความพึงพอใจ โดยเปรียบเทียบผลก่อนหน้าและภายหลังการใช้ระบบที่พัฒนาขึ้น วิธีการวิจัย (1) ศึกษามาตรฐาน ISO9001:2015, ISO 20000:2005,ITIL V.3 และโครงสร้างงานไอทีขององค์กรเซรามิกของไทย (2) วิเคราะห์ความสอดคล้องของมาตรฐานที่ศึกษา (3) สร้างแนวการปฏิบัติที่ดีจากมาตรฐานที่ศึกษา และ (4) พัฒนาเว็บเซอร์วิสเพื่อปรับเปลี่ยนธุรกิจสู่ยุคดิจิทัลของ อุตสาหกรรมเซรามิกไทยด้านการบริหารคุณภาพและบริการไอที (5) ประเมินประสิทธิภาพของระบบที่พัฒนาขึ้นมา โดยเปรียบเทียบผลก่อนและหลังการใช้งานที่พัฒนาขึ้น ผลการวิจัยพบว่า (1) มาตรฐานที่ได้ทำการศึกษาและสร้างขึ้นเป็นแนวปฏิบัตินั้นมีความสอดคล้องกัน โดยมาตรฐาน ISO 20000:2005 กับ ITIL Version 3 มีค่าความสอดคล้องร้อยละ 100และ มาตรฐาน ISO20000:2005 กับ ISO9001:2015 มีค่าความสอดคล้องร้อยละ 72.31 (2) ได้เว็บเซอร์วิสตามแนวปฏิบัติที่สร้าง และ (3) การประเมินประสิทธิภาพของระบบที่พัฒนาขึ้น เพื่อปรับเปลี่ยนธุรกิจในอุตสาหกรรมเซรามิกไทยเข้าสู่ยุคดิจิทัล ด้านต้นทุนมีค่าใช้จ่ายลดลง ด้านเวลาสามารถให้บริการรวดเร็วขึ้น และด้านความพึงพอใจของผู้รับบริการมีเพิ่มขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2017.81-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. -- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. -- แขนงวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectอุตสาหกรรมเซรามิก -- ไทย -- การจัดการth_TH
dc.titleการปรับเปลี่ยนธุรกิจยุคดิจิทัลด้านบริหารงานคุณภาพและบริการไอทีของอุตสาหกรรมเซรามิกไทยด้วย ISO 9001 และ ISO 20000th_TH
dc.title.alternativeDigital transformation in quality management and IT service management for Thai ceramic industry with ISO 9001 and ISO 20000th_TH
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2017.81-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชen_US
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the research were as follows: (1) To develop best practice in quality management and IT Service for Thai ceramic industrybased on ISO 9001:2015 and ISO 20000:2005 (2) To develop web service for digital transformation of Thai ceramic industry based on the best practice (3) To evaluate the performance of the developed system in term of time, cost and satisfaction by comparing before and after of the system usage. Research methodology consisted of follows: (1) Studied ISO 9001:2015, ISO 20000:2005, ITIL Version 3 and IT Structure of Thai ceramic organization (2) Analyzed the alignment of the standards. (3) Developed the best practice based on the standards. (4) Developed web service for digital transformation of Thai ceramic industry from the best practice in quality management and IT Service. (5) Evaluated the effectiveness of the developed system comparing before and often system usage. Research results showed that (1) The standard alignment of ISO 20000:2005 and ITIL Version 3 as of 100% and ISO 20000 with ISO 9001:2015 alignment was 72.31% (2) The web service form the best practice for digital transformation in Thai ceramic industry (3) Performance evaluation the developed system in term of cost-reducing with fasten service time and higher users’ satisfactionen_US
Appears in Collections:Science Tech - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_159708.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.78 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons