Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3596
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณรงค์ศักดิ์ ธนวิบูลย์ชัยth_TH
dc.contributor.authorรัตธนาพร กิจพ่อค้าth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-03-01T07:10:35Z-
dc.date.available2023-03-01T07:10:35Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3596en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี่มีวัตฤประสงค์เพื่อ(1) ศึกษาพฤติกรรมการใช้ศูนย์บริการและอู่ซ่อมรถยนต์ของผู้บริโภค (2) ศึกษาระดับอิทธิพลของปัจจัยที่มีต่อการเลือกใช้ศูนย์บริการและอู่ซ่อมรถยนต์ของผู้บริโภค (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับการเลือกใช้ศูนย์บริการและอู่ซ่อมรถยนต์ (4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอายุของรถยนต์กับการเลือกใช้ศูนย์บริการและอู่ซ่อมรถยนต์ (5) ศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างแหล่งกำเนิดของรถยนต์กับพฤติกรรมการใช้ศูนย์บริการและอู่ซ่อมรถยนต์ ผู้วิจัยใช้วิธีวิจัยเชิงสำรวจศึกษาเฉพาะผู้บริโภคที่มีรถยนต์นั่งไม่เกินเจ็ดคนในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบไม่ใช้หลักความน่าจะเป็น เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและคำนวณค่าทางสถิติโดยใช้ตารางแจกแจงความถี่ รัอยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้บริโภคส่วนใหญ่เลือกใช้บริการที่อู่ซ่อมรถยนต์ เป็นเพศชาย อายู 41- 50 ปี การศึกษาปริญญาตรี โสดเป็นพนักงานบริษัทมีรายได้ 10,001-20,000 บาทต่อเดือนและมีการใช้รถยนต์ญี่ปุ่น อายุรถยนต์ 1-5 ปี สำหรับพฤติกรรมการใช้ศูนย์บริการและอู่ซ่อมรถยนต์ ด้านแหล่งข้อมูลสถานบริการทราบจากพนักงานขาย นำรถยนต์เข้ารับบริการด้วยตนเอง ช่วงเวลา 8.00-12.00 น.ใช้เวลาเดินทางไปใช้บริการ 11-30 นาที ผู้บริโภคใช้บริการเพราะค่าบริการมีความเหมาะสมและมีความพึงพอใจในระดับปานกลาง โดยผู้บริโภคเลือกใช้ศูนย์บริการเพื่อตรวจเช็ครถยนต์แต่ใช้อู่ซ่อมรถยนต์เพื่อการซ่อมแซม (2) ปัจจัยด้านสิ่งกระตุ้นทางการตลาดโดยรวมมีอิทธิพลต่อการเลือกใช้ศูนย์บริการอยู่ในระดับมาก แต่มีอิทธิพลต่อการเลือกใช้อู่ซ่อมรถยนต์ อยู่ในระดับปานกลาง ส่วนปัจจัยด้านสิ่งกระตุ้นอี่นๆ และปัจจัยด้านจิตวิทยาโดยรวมมีอิทธิพลต่อการเลือกใช้ศูนย์บริการ และอู่ซ่อมรถยนต์อยู่ในระดับปานกลาง (3) ปัจจัยส่วนบุคคลได้แก่ อาชีพ สถานภาพการสมรสระดับการศึกษาและรายได้มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญกับการเลือกใช้ศูนย์บริการและอู่ซ่อมรถยนต์ (4) อายูของรถยนต์มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญกับการเลือกใช้ศูนย์บริการและอู่ซ่อนรถยนต์ (5) แหล่งกำเนิดรถยนต์มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญเฉพาะการเลือกใช้ศูนย์บริการ และแหล่งกำเนิดรถยนต์ยังมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญกับการเลือกใช้อู่ซ่อมรถยนต์ แหล่งข้อมูลสถานบริการ ช่วงเวลาในการใช้บริการ ระยะเวลาในการเดินทางไปใช้บริการและความพึงพอใจในการใช้บริการของอู่ซ่อมรถยนต์ นอกจากนี้ผู้บริโภคต้องการให้ศูนย์บริการปรับปรุงด้านการตรงต่อเวลาและอู่ซ่อมรถยนต์ปรับปรุงทั้งด้านการตรงต่อเวลาและราคาอะไหล่th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectอู่ซ่อมรถยนต์--ไทย--กรุงเทพฯth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกใช้ศูนย์บริการและอู่ซ่อมรถยนต์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeFactors influencing the selection of car service center and garage in Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were;( I) to investigate the selective behaviors of car service center and garage;(2) to study the factors and their sensitivities effected to the selection car service center and garage;(3) to determine the relationship of the personal factor and the selection for car service center and garage;(4) to determine the relation of car-life period and the selection for car service center and garage;(5) to study the relation of the original car influenced to the selective behavior for car service center and garage.The survey study was focused on 400 consumers who have their own car with 7 seats in Bangkok. Metropolis selected without Probability Sampling. The questionnaires were used in data collection. The statistical data were analyzed by using frequency distribution table, percentage, mean, standard deviation and chi-square methods.The survey study was observed that;( 1) most of the consumers who select the garage type were male in the age range of 41-50 years old, bachelor degree, single, employee, monthly salary 10,001-20,000 Baht, and used 1-5 years of Japanese’s car, respectively. The information source for selective behavior between car service center and garage obtained from sales representative , to delivery the car by themselves during 08.00 -12.00 am and reached the service in site 11-30 minutes. The reasons of selection were the suitability of service charge and the satisfaction in medium level. The selection of car service center was mainly for checking up car on the other hand the selection of garage was for repairing car;(2)The overall of arketing stimulus factors affecting the selection was high level for car service center and medium level for garage. Other stimulus factors and psychological factors influenced to the selection between car service center and garage were medium levels;(3)The car-life period were strongly related to the selection of car service center and garage; (4)The personal factors consisted of occupations, married status, educations and incomes were significantly related to the selection of car service center and garage;(5)The original car was significantly factor for the selection of car service center, however, it was extremely significant factor on the selection of garage, source of service site, open time, the arrival time and the satisfaction of service of garage. On time delivery was mainly required by consumers for both types while the spare-part price for garage type were additionally needed to take into the consideration.en_US
dc.contributor.coadvisorวิเชียร เลิศโภคานนท์th_TH
dc.contributor.coadvisorธัญญรัศม์ วศวรรณวัฒน์th_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
101851.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.69 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons