Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3601
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุวรรณี ยหะกร | th_TH |
dc.contributor.author | จิราวรรณ ฉิมภักดี, 2517- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-01T07:33:39Z | - |
dc.date.available | 2023-03-01T07:33:39Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3601 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ(1) พัฒนาแบบฝึกเขียนสะกดคำสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ และ(2) เปรียบเทียบความสามารถในการเขียนสะกดคำของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 ระหว่างก่อนและหลังการใช้แบบฝึกเขียนสะกดคำกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรียนบ้านหาดงามอำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน 25คน ที่ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่(1) แผนการจัดการเรียนรู้ (2)แบบฝึกเขียนสะกดคำและ (3) แบบทดสอบวัดความสามารถในการเขียนสะกดคำสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ E1/E2 ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการวิจัยปรากฏว่า (1)แบบฝึกเขียนสะกดคำมีประสิทธิภาพ 82.00/82.40 เป็นไปตามเกณฑ์ และ (2) ความสามารถในการเขียนสะกดคำของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 หลังเรียนโดยใช้แบบฝึกเขียนสะกดคำสูงกว่าความสามารถดังกล่าวก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ภาษาไทย--การเขียน--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) | th_TH |
dc.title | ผลการใช้แบบฝึกเขียนสะกดคำที่มีต่อความสามารถในการเขียนสะกดคำของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of using words spelling exercises on words spelling ability of Prathom Suksa II students in schools under Surat Thani Primary Education Service Area Office 1 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to develop words spelling exercises for Prathom Suksa II students in schools under Surat Thani Primary Education Service Area Office 1 based on the set efficiency criterion; and (2) to compare words spelling abilities of Prathom Suksa II students in schools under Surat Thani Primary Education Service Area Office 1before and after learning with the use of the developed words spelling exercises. The sample for this study consisted of 25 Prathom Suksa II students in an intact classroom of Ban Hat Ngam School in Ko Samui district, Surat Thani province, obtained by cluster sampling. The employed research instruments comprised (1) learning management plans; (2) words spelling exercises; and (3) a test on words spelling ability. Statistics employed for data analysis were the E1/E2 efficiency index, percentage, mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that (1) the developed words spelling exercises was efficient at 82.00/82.40 which met the 80/80 efficiency criterion; and (2) the postlearning words spelling ability of Prathom Suksa II students who learned with the use of the developed words spelling exercises was significantly higher than their prelearning counterpart ability at the .01 level. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_149964.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 18.76 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License