Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/360
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | น้ำทิพย์ วิภาวิน | th_TH |
dc.contributor.author | ภาวิณี แสนชนม์, 2515- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-09T07:34:37Z | - |
dc.date.available | 2022-08-09T07:34:37Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/360 | en_US |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการจัดการสารสนเทศผ้าย้อมครามของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ผ้าย้อมครามและแหล่งบริการสารสนเทศผ้าย้อมครามในประเทศไทย (2) ศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการจัดการสารสนเทศผ้าย้อมครามของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผ้าย้อมครามและแหล่งบริการสารสนเทศผ้าย้อมครามในประเทศไทย และ (3) พัฒนารูปแบบที่เหมาะสมในการจัดการสารสนเทศผ้าย้อมครามของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ผ้าย้อมครามและแหล่งบริการสารสนเทศผ้าย้อมครามในประเทศไทย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างจํานวน 54 คน คัดเลือกแบบเจาะจงตามเกณฑ์ ที่กําหนดจากผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานในแหล่งที่มีการจัดการสารสนเทศผ้าย้อมคราม 17 แห่ง ได้แก่ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผ้าย้อมคราม 12 แห่ง จํานวน 39 คน และแหล่งบริการสารสนเทศผ้าย้อมคราม 5 แห่ง จํานวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งมีโครงสร้าง การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหาแบบอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพการจัดการสารสนเทศผ้าย้อมครามในประเทศไทย ส่วนใหญ่เป็นการจัดการสารสนเทศระดับบุคคลที่เน้นความสามารถของผู้นํากลุ่มวิสาหกิจชุมชนและหัวหน้าแหล่งบริการ สารสนเทศผ้าย้อมคราม มีการจัดแสดงผลิตภัณฑ์ผ้าย้อมครามโดยใช้วัสดุจริงตามนโยบายการยกระดับ ผลิตภัณฑ์ชุมชน และมีกระบวนการจัดการสารสนเทศที่ประกอบด้วย การรวบรวมลวดลายผ้าย้อมคราม จากการถอดบทเรียน การจัดหมวดหมู่วัสดุจริงตามกระบวนการผลิตผ้าย้อมคราม การเผยแพร่สารสนเทศ ผ้าย้อมครามผ่านเว็บไซต์และสื่อสังคมออนไลน์ 2) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการจัดการสารสนเทศผ้าย้อมครามในประเทศไทย ได้แก่ ทักษะการรู้สารสนเทศของผู้นํากลุ่มวิสาหกิจชุมชน ความร่วมมือของภาครัฐและเอกชน ในการยกระดับผลิตภัณฑ์ผ้าย้อมครามตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน การสนับสนุนด้านงบประมาณและการ รวมตัวของเครือข่ายชุมชนที่เข้มแข็ง 3) การพัฒนารูปแบบที่เหมาะสมในการจัดการสารสนเทศผ้าย้อมครามในประเทศไทยเป็นรูปแบบ Indigo WORK-NET ประกอบด้วย การจัดการสารสนเทศแบบกลุ่ม (Information Management by WORKgroup) ที่เน้นการทํางานร่วมกันของเครือข่ายผู้นํากลุ่มวิสาหกิจชุมชน (Community NETwork) และแหล่งบริการสารสนเทศท้องถิ่นมีการกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน การบริหารข้อมูล เปิดเพื่อการเข้าถึงได้ง่าย และมีกระบวนการจัดการสารสนเทศผ้าย้อมคราม ที่เริ่มจากการถอดบทเรียนจากผู้รู้การจัดหมวดหมู่เนื้อหาตามกระบวนการผลิต การจัดเก็บและสงวนรักษาในคลังสารสนเทศดิจิทัล การจัดทําคู่มือ การผลิตและจัดจําหน่าย และการเผยแพร่ผ่านสื่อสังคมออนไลน์และแหล่งบริการสารสนเทศผ้าย้อมคราม | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2017.44 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ผ้าย้อมคราม | th_TH |
dc.subject | ระบบสารสนเทศ--การจัดการ | th_TH |
dc.subject | วิสาหกิจชุมชน--ไทย | th_TH |
dc.title | การจัดการสารสนเทศผ้าย้อมครามในประเทศไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Indigo fabric information management in Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2017.44 | - |
dc.degree.name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศิลปศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research aimed to (1) study indigo fabric information management of Community enterprise groups and indigo fabric information service centers in Thailand; (2) identify factors that influence indigo fabric information management of the community enterprise groups and indigo fabric information service centers in Thailand; and (3) develop a suitable model for such management and services. The study employed qualitative methods, with in-depth interviews of 54 administrators and staff in 17 organizations, comprising of 39 persons in 12 community enterprise groups and 15 persons in 5 indigo fabric information service centers. Purposive sampling was used to select the sample. The instrument was semi-structured in-depth interviews, data was analyzed by using inductive content analysis. There were three main research findings. (1) The status of indigo fabric information management in Thailand was mostly managed at an individual level with an emphasis on the abilities of each community enterprise and local information service leaders. There were displays of authentic indigo fabric products complying with local product enhancement policies. The information management process included indigo fabric pattern collections from lessons learned, authentic materials classification by indigo fabric production, and indigo fabric information dissemination via website and social networking. (2) Factors that influenced indigo fabric information management in Thailand included information literacy of community enterprise leaders, collaboration of government and private sector to enhance standardization of indigo fabric products, financial support from stakeholders and strong community network. (3) The suitable information management of indigo fabric in Thailand was indigo WORK-NET model, which consisted of Information Management by WORKgroup emphasized on working in collaboration with leader community enterprise NETworks and local information sources to establish standards of community products and develop open data management for an easy access. It was also found that the indigo information management process consisted of extracting lessons learned from experts, classification of the information by production procedure, collection and preservation of products in digital repository, writing production and distribution manuals, and dissemination of the information via social networking and indigo fabric information sources. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ฉันทนา เวชโอสถศักดา | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | พธู คูศรีพิทักษ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Arts-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
159471.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 39.45 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License