Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3613
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุดาว เลิศวิสุทธิไพบูลย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศริศักดิ์ สุนทรไชย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชัยพฤกษ์ ทองเปี่ยม, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-03-01T09:10:34Z-
dc.date.available2023-03-01T09:10:34Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3613-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.(การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สำรวจสถานการณ์โรงงานผู้ก่อกำเนิดกากของเสียอุตสาหกรรมของโรงงานที่ตั้งอยู่ในเขตนิคมอุตสาหกรรมในเขตจังหวัดระยอง (2) ระบุปัจจัยที่ผู้ก่อกำเนิดกากของเสียอุตสาหกรรมใช้ในการเลือกผู้รับบำบัดและกำจัดกากของเสียอุตสาหกรรม และ (3) สำรวจปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของผู้ก่อกำเนิดกากของเสียอุตสาหกรรมที่มีต่อผู้รับบำบัดและกำจัดกากอุตสาหกรรม โดยกลุ่มตัวอย่างคือ ผู้จัดการโรงงานผู้ก่อกำเนิดกากของเสียอุตสาหกรรมจำนวน 150 โรงงาน จากจำนวนประชากรของโรงงานที่ตั้งอยู่ในเขตนิคมอุตสาหกรรมในเขตจังหวัดระยองทั้งหมดจำนวน 1,497 โรงงาน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามที่มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.775 และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ความถี่ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) โรงงานส่วนใหญ่มีอัตราการเกิดกากของเสียอุตสาหกรรมที่เป็นอันตราย มีปริมาณอยู่ในช่วง 100-500 ตันต่อปี และอัตราการเกิดกากของเสียอุตสาหกรรมที่ไม่เป็นอันตรายส่วนใหญ่ มีปริมาณมากกว่า 500 ตันต่อปี ค่าบริการบำบัดกำจัดกากของเสียอุตสาหกรรมควรมีราคาอยู่ในช่วง 1,000 -3,000 บาท สำหรับกากของเสียอุตสาหกรรมที่เป็นอันตราย และ 500-1,000 บาทสำหรับกากของเสียอุตสาหกรรมที่ไม่เป็นอันตราย ระยะทางที่เหมาะสมระหว่างโรงงานของผู้ก่อกำเนิดกับโรงงานผู้รับบำบัดกำจัด ควรมีระยะทางอยู่ในช่วง 51 ถึง 100 กิโลเมตร (2) ปัจจัยที่สำคัญที่สุดที่โรงงานผู้ก่อกำเนิดกากของเสียอุตสาหกรรมใช้ในการพิจารณาเลือกใช้บริการเป็นเรื่องการปฏิบัติตามกฎหมายและข้อกำหนดของผู้รับบำบัดและกำจัดกากของเสียอุตสาหกรรม และ (3) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพึงพอใจมากที่สุดสามลำดับแรก ได้แก่ 1) โรงงานผู้รับบำบัด/กำจัดฯ มีรถขนส่งกากของเสียที่ถูกต้องตามหลักวิชาการและกฎหมาย 2) โรงงานผู้รับบำบัด/กำจัดฯ มีการรับรองระบบมาตรฐานการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม และ 3) โรงงานผู้รับบำบัด/กำจัดฯ มีระบบการจัดการ หรือปริมาณพื้นที่หลุมฝังกลบเพียงพอในการรองรับกากอุตสาหกรรม ตามลำดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการกำจัดของเสีย--ไทย--ระยองth_TH
dc.titleปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการตัดสินใจเลือกผู้รับบำบัดและกำจัดกากของเสียอุตสาหกรรมของโรงงานในเขตนิคมอุตสาหกรรมจังหวัดระยองth_TH
dc.title.alternativeFactors related to selection decisions of industrial waste disposal processors of factories in industrial estates Rayong Provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to: (1) study current situations of industrial waste generators in Rayong industrial estates; (2) specify selection factors of waste processors; and (3) explore factors related to service satisfaction of waste generators. The samples were collected among managers over 150 industrial factories from the total number of 1,497 factories in the Rayong industrial region. Surveys were used in the study with Cronbach’s Alpha Coefficient Reliability resulting at 0.775 and statistical analysis tools applied were ratio, average, frequency and standard deviation. The research found that: (1) the majority of factories annually generated hazardous wastes between 100 to 500 tons and non-hazardous wastes over 500 tons. The treatment fees were reported at between 1,000 to 3,000 baht for hazardous wastes while non-hazardous wastes were treated at 500 to 1,000 baht. The distance between waste generators and processors was indicated in between 51 to 100 kilometers; (2) the most significant factor for selection of service providers was legal and regulatory compliance; and (3) The most affecting factors to customer satisfaction were, in order respectively; 1) waste processors with legally registered vehicles 2) those with internationally certified environmental management system 3) they have a good practice or possess sufficient landfill storage for industrial wastesen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.97 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons