Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3662
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัชรี ผลโยธินth_TH
dc.contributor.authorทิฆัมพร ไชยสิทธิ์, 2528-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-02T07:50:45Z-
dc.date.available2023-03-02T07:50:45Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3662en_US
dc.description.abstractการศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องภาษาถิ่นอุตรดิตถ์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ในจังหวัดอุตรดิตถ์ ที่มีประสิทธิภาพ และ(2) เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ภาษาถิ่นอุตรดิตถ์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ในจังหวัดอุตรดิตถ์ ตามเกณฑ์ที่กำหนด กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ของโรงเรียนทาปลาอนุสรณ์ 1 จังหวัดอุตรดิตถ์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 จำนวน 45 คน ได้โดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ภาษาถิ่นอุตรดิตถ์ และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ E1/E2 ผลการศึกษาปรากฏว่า (1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องภาษาถิ่นอุตรดิถต์ มีเนื้อหา 4 เรื่อง คือความเป็นมาของภาษาอุตรดิตถ์ ภาษาถิ่นเหนือภาษาถิ่นลาวหลวงพระบาง และภาษาถิ่นทุ่งยั้ง โดยมีจุดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมท้ายเรื่อง และแบบทดลองหลังเรียน และ (2) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ภาษาถิ่นอุตรดิตถ์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ในจังหวัดอุตรดิตถ์ มีประสิทธิภาพ 83.25/82.65 แสดงว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ภาษาถิ่นอุตรดิตถ์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ในจังหวัดอุตรดิตถ์ มีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ มาตรฐาน 80/80th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเด็กวัยก่อนเข้าเรียน--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectกิจกรรมเข้าจังหวะth_TH
dc.subjectเด็กวัยก่อนเข้าเรียน--ไทย--แม่ฮ่องสอนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleผลการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะประกอบอุปกรณ์ที่มีต่อความเข้าใจด้านจำนวนของเด็กปฐมวัย โรงเรียนบ้านทิยาเพอ จังหวัดแม่ฮ่องสอนth_TH
dc.title.alternativeEffects of water and sand activities on helping behaviors of preschool children at Tessaban Wat Thai Talat (Kaweethammasan) school in Uttaradit Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare the concepts of numbers of preschool children at Tiyapur School before and after undertaking the movement and rhythmic activities with props. The sample comprised 15 preschool children, aged 4-5 years, studying at the first year kindergarten level in the second semester of the 2015 academic year at Tiyaper School in Mae Hong Son province, obtained by cluster sampling. The experiment was conducted during the sessions of movement and rhythmic activities for 6 weeks. Research instruments consisted of the manual and plans for organizing movement and rhythmic activities with props, and a scale to assess the concept of numbers of preschool children. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that before the experiment, the mean score of preschool children’s concept of numbers was 3.00; after the experiment, the mean score of preschool children’s concept of numbers was 9.52 indicating that after undertaking the movement and rhythmic activities with props, preschool children’s concept of numbers was significantly higher than their pre-experiment counterpart concept at the .01 level. Also, results of comparing their scores against the mastery criterion showed that the postexperiment score on concept of numbers of every child was at the excellent level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_146623.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.26 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons