Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/367
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | แววบุญ แย้มแสงสังข์ | th_TH |
dc.contributor.author | กิตติพงศ์ พัฒนไพศาลสิน, 2514- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-09T08:18:14Z | - |
dc.date.available | 2022-08-09T08:18:14Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/367 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (เทคโนโลยีอุตสาหกรรม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562 | th_TH |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ศึกษาการปรับปรุงเส้นใยเซลลูโลสจากต้นปุดเพื่อการประยุกต์ใช้ในงานด้านสิ่งทอ วัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ ศึกษาสมบัติของเส้นใยที่ผ่านการปรับปรุงทั้งวิธีเคมีและวิธีกล และศึกษาความเป็นไปได้ในการประยุกต์ใช้เส้นใยปุดในงานด้านสิ่งทอ วิธีการวิจัยประกอบด้วย 3 ขั้นตอน (1) การเตรียมเส้นใยโดยการคัดเลือกต้นปุด ตีแยกเส้นใยด้วยเครื่องตีแยก และนำมาอบแห้ง (2) ปรับปรุงเส้นใยที่ผ่านการอบแห้งด้วยวิธีเคมีและวิธีกล วิธีเคมีทำโดยแช่เส้นใยในสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซค์เข้มข้น 0%, 5%, 10%, 15% และ 20% เป็นเวลา 7 วัน วิธีกลทำการแยกเส้นใยด้วยเครื่องบีบอัดที่แรงกด 4 บาร์ เวลา 10, 15 และ 20 นาที ตามลำดับ (3) ทดสอบสมบัติของเส้นใยที่ผ่านการปรับสภาพด้วยวิธีเคมีและวิธีกล ด้วยกล้องจุลทรรศน์ และกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องกราดด้วยเทคนิคการกระจายพลังงานรังสีเอ็กซ์ เครื่องทดสอบแรงดึง และวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของเส้นใย ผลการวิจัยพบว่า การปรับปรุงเส้นใยทั้งวิธีเคมีและวิธีกล ทำให้เส้นใยมีขนาดเล็กลงได้ โดยวิธีเคมีจะได้เส้นใยที่มีสมบัติเชิงกลที่ดีกว่าวิธีกล อย่างไรก็ตามเมื่อเปรียบเทียบระหว่างการปรับปรุงเส้นใยวิธีเคมีและการปรับปรุงเส้นใยวิธีกล โดยใช้เครื่องบีบอัด พบว่า วิธีเคมีใช้เวลานานกว่า และอาจส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมเนื่องจากสารเคมีที่ใช้ สภาวะที่เหมาะสมในการใช้เครื่องบีบอัดเส้นใยคือที่แรงดัน 4 บาร์ เวลา 10 นาที โดยมีค่าการรับแรงดึงของเส้นใยเท่ากับ 102.45 เซนตินิวตัน ซึ่งเส้นใยที่ได้เหมาะสำหรับงานเคหะสิ่งทอ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2019.3 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | เส้นใยพืช--การผลิต | th_TH |
dc.title | การปรับปรุงเส้นใยจากต้นปุดสำหรับการประยุกต์ใช้งานด้านสิ่งทอ | th_TH |
dc.title.alternative | Improvement of Achasma macrocheilos Griff fibers treatment for textile applications | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2019.3 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2019.3 | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research is concerned with the treatment of cellulose fibers from Achasma macrocheilos Griff for textile application. The aims of the study were to study the properties of the fibers from chemical and mechanical treatments. Research methods composed of three steps are (1) preparation of the fibers by selecting stalk, separating by using a mechanical press and drying them, (2) modifying the dried fibers by chemical and mechanical treatments; the former one by soaking them in 0%, 5%, 10%, 15% and 20% Sodium Hydroxide solution for 7 days. The latter one by a mechanical press at the pressure of 4 Bar for 10, 15 and 20 minutes to separate the fiber, (3) testing the properties of the fibers from chemical and mechanical methods using a microscope, scanning Electron Microscopy (SEM), Energy dispersive X-ray analysis (EDS), tensile testing machine, and the chemical composition of the fibers. The results show that both of the chemical and mechanical treatments can reduce the fiber sizes. The chemical method obtained more higher fibers properties than the ones obtained by mechanical method. However when compared mechanical treatment with mechanical press to the chemical treatment found that, chemical treatment takes longer and may be produce environmental effects from the chemicals used. The optimum condition for squeezing machine was at 4 Bar for 10 minutes, which resulted in fiber tensile of 102.45 centinewton (cN). The fibers were suitable for home textile products. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | กัลทิมา เชาว์ชาญชัยกุล | th_TH |
Appears in Collections: | Science Tech - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_162210.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 19.27 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License