Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3693
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิริพันธ์ พลรบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorทำนอง บุญเจริญ, 2505- ผู้แต่ง.-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-04T12:22:03Z-
dc.date.available2023-03-04T12:22:03Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3693-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาถึงแนวคิด ทฤษฎี มาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการทางวินัยกับข้าราชการที่ออกจากราชการไปแล้วตามกฎหมายไทยและของต่างประเทศ และ (2) เสนอแนะแนวทางแก้ไขปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวกับการดำเนินการทางวินัยกับข้าราชการที่ออกจากราชการไปแล้วของประเทศไทยให้เหมาะสม การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีวิจัยเอกสาร โดยการศึกษาค้นคว้าตำราวิชาการ บทความ ระเบียบ กฎหมาย วิทยานิพนธ์ และข้อมูลจากเว็บไซต์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาต่างประเทศเพื่อรวบรวมข้อมูลทั้งหลายมาทำการศึกษา วิเคราะห์ และเรียบเรียงอย่างเป็นระบบ ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัญหาการดำเนินการทางวินัยกับข้าราชการที่ออกจากราชการไปแล้วตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 มิได้บัญญัติให้ชัดเจนว่าผู้มีอำนาจหน้าที่ในการสืบสวนสอบสวนหรือตรวจสอบตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562 มาตรา 100 วรรคหนึ่ง หมายถึง ผู้ใดบ้าง เนื่องจากผู้มีอำนาจหน้าที่กรณีดังกล่าวมีอยู่เป็นจำนวนมาก ทั้งการกล่าวหาเป็นหนังสือในบทบัญญัติดังกล่าว มีความหมายอย่างไรบ้าง หรือต้องมีองค์ประกอบใดบ้างจึงจะถือว่าเป็นการกล่าวหาเป็นหนังสือ ทำให้เกิดปัญหาในทางปฏิบัติในการตีความการบังคับใช้กฎหมาย และ (2) ผู้ที่มีอำนาจดำเนินการทางวินัยมีอำนาจดำเนินการสืบสวนหรือพิจารณาดำเนินการทางวินัยและสั่งลงโทษข้าราชการพลเรือนสามัญซึ่งออกจากราชการอันมิใช่เพราะเหตุตาย จะต้องดำเนินการสอบสวนตามหลักเกณฑ์และวิธีการใดผู้ศึกษาจึงเสนอแนวทางในการศึกษาให้เห็นถึงปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในทางปฏิบัติในการบังคับใช้กฎหมายโดยการแก้ไขเพิ่มเติมกฎ ก.พ. ว่าด้วยการดำเนินการทางวินัย พ.ศ. 2556 ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการทางวินัยกับข้าราชการที่ออกจากราชการไปแล้วให้ชัดเจนยิ่งขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectข้าราชการพลเรือน--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleปัญหาการดำเนินการทางวินัยกับข้าราชการที่ออกจากราชการไปแล้วตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551th_TH
dc.title.alternativeThe problem on the enforcement of the Civil Servant Disciplinary Code Act B.E.2551en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study on the problem on the enforcement of the Civil Servant Disciplinary Code Act B.E.2551 aims to: 1) examine concepts, theories and legal measures related to the disciplinary proceedings of retired government officials, according to both existing Thai and foreign laws; and 2) make suggestions on more effective ways to improve existing laws, rules and regulations concerning Thailand’s disciplinary proceedings of retired government officials. This independent study is a qualitative research project, in which documents, articles, regulations, laws, theses and data from websites were studied in order to collect data for studies, analyses and composition in a systematic way. Study findings are as follows. (1) Problems of disciplinary proceedings with retired government officials according to the Civil Service Act, B.E. 2551 were due to unclear specifications of whether government agencies had the authority to investigate or inspect cases according to the first paragraph of section 100 of the Civil Service Act (No.3), B.E. 2562. It should be made clear which government officials were included in the specifications because there were so many government officials involved. The issue of written allegations should also be brought up as there was no clarification of what should be considered as proper written allegations in this act, which might cause problems of law interpretation later on. (2) The rules regarding authorization of the government agencies undertaking investigations, considerations, and disciplinary proceedings against government officials retiring from government service for reasons other than death should be added. As a result, the author recommends the aforementioned suggestion to help improving the law enforcement practice by amending the specific part concerning the disciplinary proceedings of retired government officials in the Ministerial Regulation on Disciplinary Proceedings, B.E. 2556en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.6 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons