Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3694
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาณุมาศ ขัดเงางาม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเทพวิสิทธิ์ โพธิเก่งฤทธิ์, 2504--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-04T12:53:11Z-
dc.date.available2023-03-04T12:53:11Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3694-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาถึงปัญหา อุปสรรค ข้อขัดข้องที่เกี่ยวกyบวิธีการเยียวยาผู้ถูกลงโทษทางวินัยโทษทัณฑ์กรรม กักยาม กักขัง และต่อมาได้รับการพิจารณาอุทธรณ์ให้ยกโทษหรือได้รับโทษน้อยลงตามกฎ ก.ตร.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีดำเนินการให้ผู้ถูกลงโทษตามคำสั่งเดิมรับโทษที่เพิ่มขึ้นหรือกลับคืนสู่ฐานะเดิม พ.ศ. 2547 (2) เพื่อเสนอแนะมาตรการทางกฎหมายในการปรับปรุง แก้ไข วิธีการเยียวยาผู้ถูกลงโทษทางวินัยโทษทัณฑ์กรรม กักยาม กักขัง และต่อมาได้รับการพิจารณาอุทธรณ์ให้ยกโทษหรือได้รับโทษน้อยลงตามกฎ ก.ตร.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีดำเนินการให้ผู้ถูกลงโทษตามคำสั่งเดิมรับโทษที่เพิ่มขึ้นหรือกลับคืนสู่ฐานะเดิม พ.ศ. 2547 การศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ โดยใช้การวิจัยเอกสาร ซึ่งใช้วิธีการศึกษาข้อมูลที่ผสมผสานกนระหว่างการวิจัยเอกสารทั้งขั้นปฐมภูมิ และขั้นทุติยภูมิ ผลการวิจัยพบว่า (1) ตามกฎ ก.ตร.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีดำเนินการให้ผู้ถูกลงโทษตามคำสั่งเดิมรับโทษที่เพิ่มขึ้นหรือกลับคืนสู่ฐานะเดิม พ.ศ. 2547 นั้นอาจขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 สำนักงานตำรวจแห่งชาติยังไม่มีนโยบายเยียวยาผู้ถูกลงโทษทางวินัยอย่างแท้จริง อีกทั้งการลงทัณฑ์ลักษณะดังกล่าวยังไม่มีการดำเนินการอย่างจริงจัง และยังไม่มีส่วนราชการพร้อมงบประมาณที่จะใช้ในการเยียวยาตามกฎ ก.ตร.นี้ จึงยังไม่มีการกำหนดหลักเกณฑ์และรูปแบบวิธีการเยียวยาที่ถูกต้องและยังไม่มีการปรับปรุงแก้ไขปัญหาทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องแต่อยางใด (2) สำนักงานตำรวจแห่งชาติต้องกำหนดนโยบายและหน่วยงานที่รับผิดชอบในเยียวยาผู้ถูกลงโทษทางวินัยอย่างจริงจังพร้อมกับให้มีการดำเนินการแก้ไข พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547 ในเรื่องการจัดตั้ง “กองทุนเยียวยาผู้ถูกลงทัณฑ์ทางวินัย” และแก้ไขกฎ ก.ตร.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีดำเนินการให้ผู้ถูกลงโทษตามคำสั่งเดิมรับโทษที่เพิ่มขึ้นหรือกลับคืนสู่ฐานะเดิม พ.ศ. 2547 ในเรื่องคำนิยามบททั่วไปคณะกรรมการพิจารณาค่าทดแทน การดำเนินการทางวินัย อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ และสำนักงานช่วยเหลือแก่ผู้เสียหายในการดำเนินการทางวินัย พนักงานเจ้าหน้าที่ และหลักเกณฑ์การจ่ายค่าทดแทนผู้เสียหายในการดำเนินการทางวินัย การยื่น คำขอและการพิจารณาคำขอและการอุทธรณ์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectทัณฑกรรมth_TH
dc.subjectการลงโทษth_TH
dc.titleการเยียวยาผู้ถูกลงโทษทางวินัยตามกฎ ก.ตร. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีดำเนินการให้ผู้ถูกลงโทษตามคำสั่งเดิมรับโทษที่เพิ่มขึ้นหรือกลับคืนสู่ฐานะเดิม พ.ศ. 2547th_TH
dc.title.alternativeThe remedies of disciplinary punishment of the policemen by the police commission regulation B.E. 2004en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม28.87 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons