Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3710
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนินาฏ ลีดส์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธัญญาภรณ์ ซอศรีสาคร, 2528--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-05T04:21:48Z-
dc.date.available2023-03-05T04:21:48Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3710-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง “ปัญหาการดำเนินกระบวนพิจารณาคดีเลือกตั้งในศาลอุทธรณ์” มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาพัฒนาการขององค์กรที่ทำหน้าที่จัดการเลือกตั้งและควบคุมการเลือกตั้งและหลักกฎหมายที่เกี่ยวกับการพิจารณาและวินิจฉัยคดีเลือกตั้ง 2) เพื่อศึกษาการดำเนินกระบวนพิจารณาคดีที่เกี่ยวกับการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่นในศาลอุทธรณ์ 3) เพื่อวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นในการดำเนินกระบวนพิจารณาคดีที่เกี่ยวกับการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่นในศาลอุทธรณ์ และ 4) เพื่อหาแนวทางที่เหมาะสม สามารถปฏิบัติได้และนำมาปรับใช้ในกระบวนพิจารณาคดีเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่นในศาลอุทธรณ์ การค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยทางเอกสาร (Documentary Research) โดยค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลจากหนังสือ ตำราทางกฎหมาย วารสาร เอกสาร บทความทางวิชาการ รายงานการประชุมสัมมนา ผลงานการวิจัยของผู้ทรงคุณวุฒิหรือนักวิชาการ วิทยานิพนธ์ คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ คำสั่งศาลฎีกาแผนกคดีเลือกตั้ง คําสั่งศาลอุทธรณ์และศาลอุทธรณ์ภาค พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ ระเบียบที่เกี่ยวกับการเลือกตั้ง การสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต (Internet) และการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จากการศึกษาพบว่าปัญหาที่เกิดขึ้นในการดำเนินกระบวนพิจารณาคดีเลือกตั้งในศาลอุทธรณ์เกิดจากการตีความตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายของศาลที่แตกต่างกันและกฎหมายที่เกี่ยวกับการเลือกตั้งบัญญัติไม่สอดคล้องกัน อันทําให้การทําวินิจฉัยหรือคําสั่งมิได้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน ขาดความเป็นเอกภาพ นอกจากนี้ในการพิจารณาคดีเลือกตั้งใช้ระบบไต่สวนในการพิจารณาศาลควรมีอำนาจสั่งในเรื่องที่คณะกรรมการการเลือกตั้งมิได้มีค่าขอมาในศาร้องหากปรากฏหลักฐานอันควรเชื่อว่ามีการทำให้การเลือกตั้งมิได้เป็นไปโดย สุจริตและเที่ยงธรรม และการที่ให้คำสั่งศาลอุทธรณ์เป็นที่สุด โดยไม่ให้ศาลในลำดับที่สูงกว่าได้ทบทวนคำวินิจฉัยหรือคําสั่งของศาลล่างก่อนนั้นเป็นการขัดต่อสิทธิเสรีภาพของประชาชน จึงควรมีการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับคดีเลือกตั้ง เพื่อนำมาปรับใช้ในการพิจารณาคดีในศาลอุทธรณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการเลือกตั้ง--การพิจารณาและตัดสินคดีth_TH
dc.subjectการพิจารณาและตัดสินคดีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleปัญหาการดำเนินกระบวนพิจารณาคดีเลือกตั้งในศาลอุทธรณ์th_TH
dc.title.alternativeProblems of election case trials in appeal courtsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study on problems of election case trials in appeal courts aims to: 1) study development of organizations in charge of election and laws on election case consideration and laws regarding the Trial and Adjudication of election cases; 2) study trials of election cases concerning local council representatives and local administrative in appeal courts; 3) analyze problems occurring during election case trials concerning local council representatives and local administrative in appeal courts; and 4) find proper solutions to be implemented in the trials of election cases concerning local council representatives and local administrative in appeal courts. This independent research is a documentary and qualitative research , in which data were collected from books, legal textbooks, journals, documents, academic articles, seminar reports, researches by competent scholars, theses, the Constitutional Court’s judgments, Acts, election protocols, data from the Internet and interviews with competent persons. It was found that problems of election case trials in appeal courts were derived from different interpretation by courts and the fact that election-related laws were not consistent. This resulted in inconsistent judgments or orders and lack of unity. In addition, the judicial elections use the inquisitorial system into consideration, the court should have power to order, in the case that the board of elections do not request in the petition, if elections are conducted in a transparent and fair manner. Moreover, giving authority to appeal courts to make final decisions contradicts people’s rights. Therefore, election-related laws should be adjusted for efficient case consideration of appeal courts in effectivelyen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.45 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons