Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3716
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิกรณ์ รักษ์ปวงชนth_TH
dc.contributor.authorธีระภาคย์ เลิศงามธนวัฒน์, 2506-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-05T04:57:04Z-
dc.date.available2023-03-05T04:57:04Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3716en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องปัญหาการออกโฉนดที่ดินกรณีครอบครองและทําประโยชน์ในที่ดินหลังประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับ มีวัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อศึกษากระบวนการออกโฉนดที่ดินหลังประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับ เพื่อปรับปรุงวิธีการออกโฉนดที่ดิน เพื่อปรับปรุงแก้ไขกฎหมายมาตรา 59 ทวิ เพิ่มเติมโดยข้อ 8 แห่งประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 96 (พ.ศ. 2515) การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ ใช้วิธีการค้นคว้าเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการรวบรวมข้อมูลแบบวิจัยเอกสาร (Documentary Research) เป็นหลัก และใช้วิธีการศึกษาเชิงวิเคราะห์ทางนิติศาสตร์ (Legal Analysis) โดยการศึกษาจากเอกสาร ตําราทางวิชาการ บทความงานวิจัย วิทยานิพนธ์ คำพิพากษาของศาล ประมวลกฎหมาย พระราชบัญญัติ รวมทั้งระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการออกเอกสารสิทธิ์ ผลการศึกษาพบว่า กรณีการครอบครองและทำประโยชน์ภายหลังประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับ สามารถขอออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินได้เพียงวิธีเดียว คือ การเดินสํารวจออกโฉนดที่ดินตามมาตรา 58 โดยถือเป็นบุคคลตามมาตรา 58 ทวิ วรรคสอง (3) คือ ผู้ซึ่งได้ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินภายหลังวันที่ประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับ โดยไม่มีใบจอง ใบเหยียบย่ำ หรือไม่มีหลักฐานว่าเป็นผู้มีสิทธิตามกฎหมายว่าด้วยการจัดที่ดินเพื่อการครองชีพขัดต่อหลักความรวดเร็ว และการอำนวยความสะดวก ตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 เพราะเป็นการจํากัดสิทธิของประชาชน ส่งผลให้เกิดความไม่เสมอภาคกันทางกฎหมาย ไม่มีเสรีภาพ ในการยื่นขอออกโฉนดที่ดินแบบวิธีอื่นที่รัฐมีอยู่แล้ว บทสรุปเป็นการศึกษากระบวนการทั้งหมดและได้มีการเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาแก่หน่วยงานภาครัฐ 3 ข้อ คือ ได้เป็น (1) การกำหนดหลักเกณฑ์ในการยื่นขอออกโฉนดที่ดินเฉพาะรายที่สํานักงานที่ดิน (2) แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายที่ดิน (3) กําหนดมาตรการในทางการดำเนินการในการรับคําขอออกโฉนดที่ดินแบบเฉพาะรายที่สํานักงานที่ดินth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectกรรมสิทธิ์ที่ดินth_TH
dc.subjectการถือครองที่ดิน--ไทย--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิติศาสตร์th_TH
dc.titleปัญหาการออกโฉนดที่ดินกรณีครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินหลังประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับth_TH
dc.title.alternativeIssuance of title deeds in case of occupancy and utilization of land after the land code enforcementen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this independent study on issuance of title deeds in case of occupancy and utilization of land after the land code enforcement were to study the process of issuing title deeds after the land code came into force in order to improve methods of issuing title deeds and amend Section 59 bis by adding Article 8 of the Announcement of the Revolutionary Council, No. 96 (B.E. 2515). This independent study is a qualitative and documentary research conducted based on legal analysis by researching documents, academic papers, articles, research papers, theses, court verdicts, code of laws, acts and regulations related to rights documents. It was found that possession and use of land after land code came into force could be done in one way that is to explore the land title deeds pursuant to Section 58 assuming a person according to Section 58 Bis, Paragraph (3) who possesses and utilizes the land after the land code comes into effect without a pre emption certificate, a squatter's certificate or documents showing his/her legal right is contrary to principles of fast services and facilitation in accordance with Administrative Procedures Act B.E. 2539 because it restricted people’s rights and caused legal inequality. In addition, there is no freedom to submit title deeds in other ways offered by the government. In conclusion, all processes were studied and presented as three guidelines of solving problems to government organizations: 1) determining criteria of filing an application for a title deed at the Land Office; 2) amending the land code; and 3) determining measures of processes of receiving applications for title deeds issued exclusively at the Land Office.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.64 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons