Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3719
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิริพันธ์ พลรบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธีระพงษ์ ธาตุรักษ์, 2500--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-05T06:13:00Z-
dc.date.available2023-03-05T06:13:00Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3719-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง “การมอบอ่านาจของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานให้แก่สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน” นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาแนวคิดทฤษฎีการมอบอำนาจในการบริหารราชการและหลักเกณฑ์ในการมอบอำนาจของต่างประเทศ (2) เพื่อศึกษาแนวคิดทฤษฎีการมอบอำนาจในการบริหารราชการและหลักเกณฑ์ในการมอบอำนาจของไทย (3) เพื่อศึกษาวิเคราะห์การมอบอำนาจของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานให้แก่สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน (4) เพื่อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปรับปรุงหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการมอบอำนาจของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานให้แก่สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสาร โดยการศึกษาค้นคว้าและวิเคราะห์ข้อมูลจากบทบัญญัติของกฎหมายการมอบอำนาจที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลจากหนังสือ ตำราทางวิชาการ งานวิจัย เอกสาร และบทความต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนการสืบค้นข้อมูลทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ผลการศึกษาพบว่า การมอบอำนาจของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานให้แก่สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล และด้านการบริหารทั่วไป ซึ่งในแต่ละด้านจะมีหลักเกณฑ์การมอบอำนาจและมีกฎระเบียบเป็น กรอบในการใช้ดุลพินิจในการพิจารณา แต่บางกรณี เช่น ด้านบริหารงานบุคคล เรื่อง มอบอำนาจการอนุมัติการเดินทางไปราชการ ให้แก่ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและผู้อำนวยการสถานศึกษาอาจมีประเด็นปัญหาในการมอบอำนาจไม่เหมาะสมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการมอบอำนาจหน้าที่th_TH
dc.subjectการกระจายอำนาจในการจัดการth_TH
dc.subjectการศึกษาขั้นพื้นฐาน--การบริหารth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleการมอบอำนาจของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานให้แก่สถานศึกษาขั้นพื้นฐานth_TH
dc.title.alternativeAuthorization of basic education institutions by the Office of the Basic Education Commissionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are: 1) to study theories of granting of authorization, granting of permission or granting of power of attorney in education administration and the principles that govern this type of authorization in other countries; 2) to study concepts and theories of granting of authorization in the government system in Thailand; (3) to study granting of authorization in education administration to basic education institutions as practiced by the Office of the Basic Education Commission; and (4) to recommend approaches for revising the principles that govern granting of authorization to basic education institutions by the Office of the Basic Education Commission. This is a documentary research based on the study and analysis of related laws and statutes, books, textbooks, research reports, journal articles and essays, including electronic media. The findings were that the Office of the Basic Education Commission gave authorization or granted powers of attorney to basic education institutions (schools) in four areas: academic authorization, budget authorization, personnel management authorization and general management authorization. For all these areas, there are principles that regulate the authorization and rules that set a framework to guide the officers’ use of their discretion in considering requests for authorization. However, in some cases, like the authorization of business travel for administrators including school directors and education area office directors, there could be problems with inappropriate authorizationen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.01 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons