Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3721
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาณุมาศ ขัดเงางาม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเธียรวิชญ์ ศรีจันทร์, 2522--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-05T06:22:16Z-
dc.date.available2023-03-05T06:22:16Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3721-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความเป็นมา แนวคิด เกี่ยวกับการอุทธรณ์คำสั่งลงโทษทางวินัยอย่างร้ายแรงของข้าราชการพลเรือน ศึกษาขั้นตอนการอุทธรณ์คำสั่งลงโทษทางวินัยของข้าราชการพลเรือนในประเทศไทยและต่างประเทศ ศึกษาวิเคราะห์ปัญหาการอุทธรณ์คำสั่งลงโทษทางวินัยอย่างร้ายแรงของข้าราชการพลเรือนต่อ ก.พ.ค. และวางแนวทางในการแก้ไขปัญหาการอุทธรณ์คำสั่งลงโทษทางวินัยอย่างร้ายแรงของข้าราชการพลเรือน การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวกับการอุทธรณ์คําสั่งลงโทษทางวินัยของข้าราชการพลเรือนในประเทศไทยและต่างประเทศ เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศฝรั่งเศส เพื่อหาแนวทางที่เหมาะสมมาปรับใช้กับการอุทธรณ์คำสั่งลงโทษทางวินัยของข้าราชการพลเรือนในประเทศไทยในกรณีลงโทษวินัยอย่างร้ายแรง ผลการศึกษาพบว่า ในกรณีมีคำสั่งลงโทษวินัยอย่างร้ายแรงนั้น คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม (ก.พ.ค.) ไม่มีมาตรการในการควบคุมระยะเวลาพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งลงโทษทางวินัยให้อยู่ในกรอบที่กฎหมายกำหนดไว้ การอุทธรณ์คำสั่งลงโทษทางวินัยเป็นระบบบังคับ อุทธรณ์โดยตรงต่อ ก.พ.ค. เท่านั้นทำให้ผู้ถูกลงโทษทางวินัยไม่มีทางเลือกอื่น และ ก.พ.ศ. ไม่มีวิธีการคุ้มครองชั่วคราวในระหว่างพิจารณาอุทธรณ์แต่อย่างใด จึงเสนอแนะว่าหาก ก.พ.ศ. พิจารณาอุทธรณ์เป็นระยะเวลาตามที่กฎหมายกำหนดไว้ให้ผู้อุทธรณ์มีสิทธินำคำอุทธรณ์นั้นไปฟ้องยังศาลปกครองชั้นต้นได้โดยทันที และ ก.พ.ค. จะต้องส่งพยานหลักฐานที่ได้มาในระหว่างพิจารณาอุทธรณ์ให้กับศาลปกครองชั้นต้นที่รับฟ้องไว้พิจารณาภายใน 15 วันนับแต่วันที่ทราบหรือรับแจ้งจากศาลปกครองชั้นต้น ผู้ถูกลงโทษมีสิทธิเลือกที่จะอุทธรณ์คำสั่งลงโทษต่อ ก.พ.ค. หรือหากผู้ถูกสั่งลงโทษได้ดำเนินการอุทธรณ์ภายในฝ่ายปกครองตามที่กฎหมายบังคับไว้แล้วสามารถฟ้องคดีต่อศาลปกครองชั้นต้นได้ภายในสามสิบวันนับแต่วันทราบหรือถือว่าทราบคำสั่งลงโทษบัญญัติให้มีวิธีการคุ้มครองชั่วคราวแก่ผู้อุทธรณ์คำสั่งลงโทษในระหว่างพิจารณาอุทธรณ์ ของ ก.พ.ศ.th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectวินัย--อุทธรณ์th_TH
dc.subjectวินัยth_TH
dc.subjectการลงโทษth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleปัญหาเกี่ยวกับการอุทธรณ์คำสั่งลงโทษทางวินัยอย่างร้ายแรงของข้าราชการการพลเรือน ต่อ ก.พ.ค.th_TH
dc.title.alternativeProblems relating to the civil servant’s appeal of gross disciplinary punishment order against MSPCen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this independent study is to study background and concept relating to the civil servant’s appeal of gross disciplinary punishment order, study procedure for the civil servant’s appeal of disciplinary punishment order in Thailand and foreign countries, study and analyze problems for the civil servant’s appeal of gross disciplinary punishment order against MSPC, and establish corrective guideline of problems for the civil servant’s appeal of gross disciplinary punishment order. This independent study is qualitative study through documentary study on the civil servant’s appeal of disciplinary punishment order in Thailand and foreign countries, such as USA and France, to find the appropriate guideline for adaptation with the civil servant’s appeal of disciplinary punishment order in Thailand in case of gross disciplinary punishment. The finding of this study results indicated that in case of gross disciplinary order, Merit System Protection Commission (MSPC) has not established measure for control of consideration period in appeal of disciplinary punishment order to be within the framework prescribed by laws. The appeal of disciplinary punishment order is the system of direct appeal execution against MSPC only, resulting in none of alternative for the disciplinary punished person. MSPC has not established temporary protection procedure during appeal consideration at all. Therefore, the researcher suggested as follows: if MSPC considers the appeal longer than the period specified by law that allows the appellant to have right to immediately file the appeal for litigation with the Administrative Court of First Instance, MSPC shall deliver evidences acquired during appeal consideration to the Administrative Court of First Instance to admit for consideration within 15 days from acknowledged or informed date from the Administrative Court of First Instance, the punished person has right to select the appeal of the punishment order against MSPC, or if the punished person appeals inside the administration as enforced by law, he/she can litigate with the Administrative Court of First Instance within thirty days from acknowledged date or it shall be deemed that the punishment order has been acknowledged, the temporary protection procedure for the appellant of punishment order during appeal consideration of MSPC shall be enacteden_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.04 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons